การพัฒนาคุณภาพชีวิตด้วยศีล 5
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อสังเคราะห์แนวคิดการพัฒนาคุณภาพชีวิตด้วยศีล 5โดยได้เห็นถึงความสำคัญของการอยู่ร่วมกันของคนในสังคมอย่างร่มเย็นเป็นสุขด้วยอานุภาพแห่งศีลห้าดังนี้
ศีล 5 ในกรอบของสิกขาบท ได้แก่ 1. เว้นจากปาณาติบาต คือ ไม่ทําลายชีวิต ไม่เบียดเบียนผู้อื่นทางด้านชีวิตร่างกาย 2. เว้นจากการลักขโมย ไม่เบียดเบียนผู้อื่นทางด้านทรัพย์สินและกรรมสิทธิ์ 3. ไม่ประพฤติผิดในกามทั้งหลาย ไม่เบียดเบียนผู้อื่นทางด้านคู่ครอง บุคคลที่รักหวงแหน ไม่นอกใจคู่ครองของตน 4. เว้นจากการพูดเท็จ ไม่เบียดเบียนผู้อื่นด้วยวาจาเท็จโกหกหลอกลวงตัดรอนประโยชน์หรือแกล้งทําลาย 5. เว้นจากของเมา คือสุราและเมรัยอันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาท คือไม่เสพของมึนเมา สารเสพติดทั้งปวง
Article Details
How to Cite
บท
บทความวิชาการ
References
ปราโมทย์ น้อยวัฒน์. อนุปุพพิกถา และอริยสัจ. กรุงเทพมหานคร : ชมรมอนุรักษ์ธรรม, มมป.
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาจันทบุรีนฤนาท.(2513). ปทานุกรมบาลี-ไทย-อังกฤษ- สันสกฤต.กรุงเทพมหานคร : ห้างหุ้นส่วนจำกัดศิวพร.
พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต).(2546). พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท์. พิมพ์ครั้ง ที่ 11. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระพุทธโฆสเถระ.(2546). คัมภีร์วิสุทธิมรรค. แปลโดย สมเด็จพระพุฒาจารย์อาจ (อาสภ มหาเถร). พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร : ,บริษัทประยูรวงศ์พริ้นท์ติ้ง จํากัด
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต).(2552). พุทธธรรม. ฉบับปรับปรุงและขยายความ. พิมพ์ ครั้งที่ 15. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์บริษัทสหธรรมิก จํากัด.
พระอุปติสสเถระ.(2538). วิมุตติมรรค. แปลโดย คณาจารย์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พุทธทาสภิกขุ.(2539). ทาน ศีล ภาวนา .กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์สุขภาพใจ.
ราชบัณฑิตยสถาน.(2546). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพมหานคร : นานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่น จำกัด.
วศิน อินทสระ.(2549). พุทธจริยศาสตร์. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ์ธรรมดา.
สมเด็จพระญาณสังวร (เจริญ สุวฑฺฒโน).(2549). ความจริงที่ต้องเข้าใจ. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหามกุฎราชวิทยาลัย.
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก.(2548). วิธีสร้างบุญบารมี.
กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์นพรัตน์.
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชมหาสังฆปรินายก (สุวฑฺฒโน).(2536). หลัก
พระพุทธศาสนา. พิมพ์ถวายเนื่องในงานฉลองครบรอบอายุ 60 ทัศ. พิมพ์ครั้ง ที่ 8. กรุงเทพมหานคร : มหามกุฏราชวิทยาลัย.
สมิต อาชวนิจกุล.(2535) .การพัฒนาตนเอง ภาค 2. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : ทิพย์อักษร,
สํานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ. “ประมวลคําสอนจากคติธรรมคําสอนขององค์ท่าน
พระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต”[ออนไลน์] แหล่งที่มา :www.onab.go.th/index.php?option. [21 ธันวาคม 2556].
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาจันทบุรีนฤนาท.(2513). ปทานุกรมบาลี-ไทย-อังกฤษ- สันสกฤต.กรุงเทพมหานคร : ห้างหุ้นส่วนจำกัดศิวพร.
พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต).(2546). พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท์. พิมพ์ครั้ง ที่ 11. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระพุทธโฆสเถระ.(2546). คัมภีร์วิสุทธิมรรค. แปลโดย สมเด็จพระพุฒาจารย์อาจ (อาสภ มหาเถร). พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร : ,บริษัทประยูรวงศ์พริ้นท์ติ้ง จํากัด
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต).(2552). พุทธธรรม. ฉบับปรับปรุงและขยายความ. พิมพ์ ครั้งที่ 15. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์บริษัทสหธรรมิก จํากัด.
พระอุปติสสเถระ.(2538). วิมุตติมรรค. แปลโดย คณาจารย์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พุทธทาสภิกขุ.(2539). ทาน ศีล ภาวนา .กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์สุขภาพใจ.
ราชบัณฑิตยสถาน.(2546). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพมหานคร : นานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่น จำกัด.
วศิน อินทสระ.(2549). พุทธจริยศาสตร์. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ์ธรรมดา.
สมเด็จพระญาณสังวร (เจริญ สุวฑฺฒโน).(2549). ความจริงที่ต้องเข้าใจ. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหามกุฎราชวิทยาลัย.
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก.(2548). วิธีสร้างบุญบารมี.
กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์นพรัตน์.
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชมหาสังฆปรินายก (สุวฑฺฒโน).(2536). หลัก
พระพุทธศาสนา. พิมพ์ถวายเนื่องในงานฉลองครบรอบอายุ 60 ทัศ. พิมพ์ครั้ง ที่ 8. กรุงเทพมหานคร : มหามกุฏราชวิทยาลัย.
สมิต อาชวนิจกุล.(2535) .การพัฒนาตนเอง ภาค 2. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : ทิพย์อักษร,
สํานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ. “ประมวลคําสอนจากคติธรรมคําสอนขององค์ท่าน
พระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต”[ออนไลน์] แหล่งที่มา :www.onab.go.th/index.php?option. [21 ธันวาคม 2556].