Designing of Learning Activity Package by Using Active Learning Approach for Developing the Problem Solving skills for the Primary School Students

Authors

  • ทิพย์ภาพรรณ เอี่ยมละออ มหาวิทยายลัยราชภักสวนสุนันทา

Keywords:

การสังเคราะห์ งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนรู้เชิงรุก เพื่อการจัดการเรียนการสอน

Abstract

This article aims to synthesize research related to the use of the proactive learning management model. For teaching and learning during 2010-2019, there were synthesis issues: 1) basic information 2) game format. 3) research method 4) research guideline 5) use of research results The population of 25 volumes. The research tool was used to record thesis characteristics. The statistics used in data analysis were frequency and percentage. The findings were as follows: 1) basic information. Most of them are research at the master's level. Is a research work of the Faculty of Science Science disciplines Belong to Burapha University Most of the research years were in 2013, 2017 and 2018 2) the active learning model used in the research. Most of the research uses proactive learning activities. In the form of a learning management plan. 3. Research methods. Most researches use a sample. Which techniques for selecting research samples to be synthesized Most of them are specific selections. It is research and development Conceptual frameworks are presented.In research using other people's theories Some ideas and methods will be applied to the design design. To provide learning for students Most of the researches involved in this research are Reference to domestic research Most research instruments were lesson plans and quizzes were commonly used as data collection tools. Research statistics The basic statistics were mean and standard deviation and T-test, with most research data collection areas being classroom. Secondary Education Years 1-6 in research is a research that has a hypothesis test. The results of the research hypothesis test in this research were according to the hypothesis. It is a presentation of the teaching model in the form of proactive learning activities. Most of them are offline. Which is developed in the form of teaching plans. 5. Results of the use of research results. Able to utilize the knowledge from research to develop academic achievement The knowledge gained from research can be utilized to develop learning skills in the 21st century of the learners.

References

กรรณิการ์ ปัญญาดี. (2558). ผลการจัดการเรียนรู้เชิงรุกออนไลน์เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
วิชาคอมพิวเตอร์ 3 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. วิทยานิพนธ์ ปริญญาศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการ วิจัยและพัฒนาหลักสูตร คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชมงคลธัญญบุรี.
กิตติกรณ์ หงส์ยิ้ม. (2560). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์และคะแนนพัฒนาการการเรียนรู้ระหว่างการเรียนรู้
เชิงรุก และการเรียนรู้แบบวัฏจักรสืบเสาะหาความรู้ (5E) ต่อการเรียนวิชาชีววิทยา เรื่อง
การหายใจระดับเซลล์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่4. หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนวิทยาศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรังสิต.
กิตติพันธ์ วิบูลศิลป์. (2560). ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดห้องเรียนกลับทาง ร่วมกับการเรียนเชิงรุกที่มีต่อความสามารถในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์และความสามารถใน การคิดอย่างมีวิจารณญาณของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. สาขาวิชาการศึกษาคณิตศาสตร์ ภาควิชาหลักสูตรแลการสอน คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ศราวุธ ขันคำหมื่น. (2553). การประยุกต์ใช้รูปแบบการเรียนเชิงรุกวิชาฟิสิกส์ เรื่องสภาพสมดุล สำหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษา. ปริญญามหาบัณฑิต สาขาฟิสิกส์ศึกษา วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี.
เฉลิมพล สุปัญญาบุตร. (2562). การพัฒนาโปรแกรมเสริมสร้างสมรรถนะครูด้านการจัดการเรียนรู้เชิงรุก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24 . ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารและพัฒนา การศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม .
ดรุณตรีย์ เหลากลม. (2561). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน ด้วยชุด กิจกรรมการ เรียนรู้เชิงรุก. ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ศึกษาคณะ วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.
ดวงใจ บุตรดี. (2556). การเสริมสร้างความเข้าใจเรื่องโมเมนตัมและการชนด้วยการเรียนเชิงรุก.
ปริญญาวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์การศึกษา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย อุบลราชธานี.
ธนวรรณ นัยเนตร. (2560). ผลของการจัดการเรียนรู้เชิงรุกร่วมกับคำถามระดับสูงที่มีต่อความสามารถใน การให้เหตุผล และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง ฟังก์ชัน ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4. การศึกษา มหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนคณิตศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา .
นทลี พรธาดาวิทย์. (2561). การพัฒนาการจัดการเรียนรู้เชิงรุกในวิชาการจัดการเรียนรู้ . สาขาหลักสูตรและ การสอน คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี .
นิภาพร รูปแกะ. (2556). การพัฒนาความเข้าใจแนวคิดเรื่องสนามของแรงของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 4 โดยการจัดการเรียนรู้เชิงรุก. ปริญญาวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลาชธานี.
ปฏิวัติ พุทธะศักดิ์เมธี. (2556). การเรียนรู้เชิงรุกที่ผู้เรียนสร้างความรู้ด้วยตนเองเพื่อพัฒนาทักษะการคิด
วิเคราะห์:กรณีศึกษาโรงเรียนบ้านวังท่าดี สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 3. ปริญญาการศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต .
ผกาวัลย์ นามนัย. (2562). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง กฎหมายและการดำเนินชีวิต
และพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างมีวิจารณญาณ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่3 โดยใช้ กิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก. ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม .
พระมหาอภินันท์ นนทภาณี (คำหารพล). (2561). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้การเรียนเชิงรุก สาระหน้าที่พลเมือง ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนเทศบาลวัดศาลามีชัย
อำเภอ เมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช. ปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนสังคม มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย.
นิรนุช พวงขาว. (2558). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมี และความสามารถในการคิดแก้ปัญหา
ทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้เชิงรุกร่วมกับ
การเรียนแบบร่วมมือเทคนิค STAD. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาการสอนวิทยาศาสตร์
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.
ฟาตีฮะห์ อุตส่าห์ราชการ. (2558). รูปแบบการเรียนการสอนแบบ Active Learning เพื่อพัฒนา
แนวคิดเชิงวิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นไหวสะเทือน.วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาฟิสิกส์ศึกษา
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.
ยงยุทธ อังคสัญญลักษณ์. (2559). ผลของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาไทยโดยใช้กระบวนการ 5 ขั้น
ที่มีต่อความสามารถในการคิดวิเคราะห์และทัศนคติการเรียนเชิงรุกของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 4. ปริญญาครุศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษไทย ภาคหลักสูตรและการสอน
คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ยุวดี ใจเดี่ยว. (2553). การพัฒนาความเข้าใจและความคงทนของความรู้ เรื่องความดันและพลศาสตร์
ของไหล โดยใช้การจัดการเรียนรู้เชิงรุก. ปริญญาวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์ศึกษา
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.
รณรงค์ ขันแข็ง. (2559). การบูรณาการสอดแทรก เรื่องเวกเตอร์ โดยใช้การเรียนเชิงรุก.
ปริญญาวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระ จอมเกล้าธนบุรี.
ลัดดาวัลย์ สาระภัย. (2560). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและพฤติกรรมการเรียนรู้วิชาชีววิทยา
เรื่องการสังเคราะห์แสง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบกระตือรือร้น
(Active Learning). ปริญญาครุศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยราช ภัฏมหาสารคาม.
วธัญญู วุฒิวรรณ์. (2553). ผลการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์เชิงรุกเพื่อส่งเริมผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ และความสามารถในการแก้ปัญหา สำหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1. การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.
วาสนา ชัยเจริญ. (2557). ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุกที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถ
ในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ เรื่อง เศษส่วน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1.
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.
สุดารัตน์ เกียรติจรุงพันธ์. (2559). การศึกษามโนทัศน์และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที 6 วิชาชีววิทยาเพิ่มเติม เรื่อง ความหลากหลายทางชีวภาพ
ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้เชิงรุก. การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนวิทยาศาสตร์
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.
สุพิษ ชัยมงคล. (2556). กลยุทธ์การพัฒนาสมรรถนะการจัดการเรียนเชิงรุก ของครูผู้สอนระดับ ประถมศึกษาในพื้นที่สูง. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย.
สุภามาศ บุญเชิด. (2555). การศึกษาความเชื่อมั่นในตนเอง และความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นอนุบาล ปีที่ 2 ที่ได้รับ การจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ตามแนวคิด Active Learning. ครุศาสตร์ มหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา.

Downloads

Published

09-07-2021

Issue

Section

Research Articles