พฤติกรรมการดำเนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงของผู้นำครอบครัวในเขตปกครองท้องที่อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐ

Authors

  • ปราโมทย์ มลคล้า (Pramote Monkhla)
  • นวลฉวี ประเสริฐสุข (Nuanchawee Prasertsuk)
  • สมทรัพย์ สุขอนันต์ (Somsap Suk-anan)
  • กมล โพธิเย็น (Kamol Poyen)

Keywords:

เศรษฐกิจพอเพียง, การมีส่วนร่วมในหลักเศรษฐกิจพอเพียง, การรับรู้ข้อมูลข่าวสารจากสื่อมวลชน, การสนับสนุนทางสังคม

Abstract

The purposes of this research were 1) to study the family leaders’ level of living performance in accordance with the sufficiency economy-base , knowledge of sufficiency economy , participation in sufficiency economy , reception to sufficiency economy information and social support from organization. 2) to compare the family leaders’ living performance in accordance with the sufficiency economy – base as classified by sex , age, educational level, career performance, family annual income and number of family members 3) to determine family leaders’ knowledge of sufficiency economy , participation in sufficiency economy, reception to sufficiency economy information and social support from organization as predictors of the family leaders’ living performance in accordance with the sufficiency economy – base. Samples were 397 family leaders in local administrative areas of Amphoe Mueng Changwat Nakhon Pathom derived by a multi- stage random sampling technique. Instruments used to collect data were questionnaires constructed by the researcher. Data were analyzed for percentage, mean(X ), standard deviation (S.D.), t-test, One-Way ANOVA and the Stepwise Multiple Regression Analysis.

The results found that :

1. The family leaders’ level of knowledge of sufficiency economy , participation in sufficiency economy, reception to sufficiency economy information and social support from organization were at a moderate level, living performance in accordance with the sufficiency economy-base was at a high level.

2. The family leaders’ living performance in accordance with the sufficiency economy – base as classified by age was different with statistical significance at .05. However, when classified by sex, education level , career performance , family annual income and number of family members , the family leaders’ living performance in accordance with the sufficiency economy-base were not significantly different.

3. Participation in sufficiency economy, knowledge of sufficiency economy , reception to sufficiency economy information and social support form organization predicted the family leaders’ living performance in accordance with the sufficiency economy – base at the percentage of 31.3 , with a statistical significance level of .001.

Key words: sufficiency economy, participation in sufficiency economy, reception to sufficiency economy information, social support

 

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ระดับพฤติกรรมการดาเนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ความรู้เกี่ยวกับหลักเศรษฐกิจพอเพียง การมีส่วนร่วมในกิจกรรมหรือโครงการที่เกี่ยวกับหลักเศรษฐกิจพอเพียง การรับรู้ข้อมูลข่าวสารจากสื่อมวลชน และการได้รับแรงสนับสนุนทางสังคมจากหน่วยงานของรัฐ ของผู้นาครอบครัว ในเขตปกครองท้องที่ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม 2) เปรียบเทียบพฤติกรรมการดาเนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ของผู้นาครอบครัว ในเขตปกครองท้องที่ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม จำแนกตามเพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพหลัก รายได้ของครอบครัวต่อปี และจานวนสมาชิกในครอบครัว 3) ปัจจัยที่สามารถทานายพฤติกรรมการดาเนินชีวิต ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ของผู้นาครอบครัว ในเขตปกครองท้องที่ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือผู้นาครอบครัว ในเขตปกครองท้องที่ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม จานวน 397 คน ที่สุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ (%) ค่าเฉลี่ย (X ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน( S.D.) การทดสอบค่าที (t-test) การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA) และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน (Stepwise Multiple Regression Analysis)

ผลการวิจัยพบว่า

1. ความรู้เกี่ยวกับหลักเศรษฐกิจพอเพียง การมีส่วนร่วมในกิจกรรมหรือโครงการที่เกี่ยวกับหลักเศรษฐกิจพอเพียง การรับรู้ข้อมูลข่าวสารจากสื่อมวลชน และ แรงสนับสนุนทางสังคมจากหน่วยงานของรัฐอยู่ในระดับปานกลาง ส่วนพฤติกรรมการดาเนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง อยู่ในระดับมาก

2. ผู้นาครอบครัวที่มีอายุต่างกันมีพฤติกรรมการดาเนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 ส่วนผู้นาครอบครัว ที่มีเพศ ระดับการศึกษา อาชีพหลัก รายได้ของครอบครัวต่อปี และจานวนสมาชิกในครอบครัวที่ต่างกัน มีพฤติกรรมการดาเนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ไม่แตกต่างกัน

3. การมีส่วนร่วมในกิจกรรมหรือโครงการที่เกี่ยวกับหลักเศรษฐกิจพอเพียง ความรู้เกี่ยวกับหลักเศรษฐกิจพอเพียง การรับรู้ข้อมูลข่าวสารจากสื่อมวลชน และการได้รับแรงสนับสนุนทางสังคมจากหน่วยงานของรัฐ สามารถร่วมกันทานายพฤติกรรมการดาเนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงของผู้นำครอบครัวในเขตปกครองท้องที่อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ได้ร้อยละ 31.3 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001

คำสำคัญ: เศรษฐกิจพอเพียง, การมีส่วนร่วมในหลักเศรษฐกิจพอเพียง, การรับรู้ข้อมูลข่าวสารจากสื่อมวลชน, การสนับสนุนทางสังคม

Downloads

Published

2011-12-25

How to Cite

(Pramote Monkhla) ป. ม., (Nuanchawee Prasertsuk) น. ป., (Somsap Suk-anan) ส. ส., & (Kamol Poyen) ก. โ. (2011). พฤติกรรมการดำเนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงของผู้นำครอบครัวในเขตปกครองท้องที่อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐ. Journal of Behavioral Science for Development, 2(1). Retrieved from https://so02.tci-thaijo.org/index.php/JBSD/article/view/555