Psycho- Social Factors and Well-being Related to Effective Learning Behavior of Accounting Students in Faculty of Business Administration Rajamangala University of Technology Phra Nakhon ปัจจัยทางจิตสังคมและความสุขใจที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการเรียน อย่างมีประสิทธิภาพของนัก

Authors

  • Lumyai Magjaroen Graduate Students, Master of Science Degree in Applied Behavioral Science Research, Srinakarinwirot University , E-mail: lumyai_m@hotmail.com , Tel. 668-1252-6065
  • Thasuk Junprasert Lecturer in Behavioral Science Research, Srinakarinwirot University
  • Omdean Sodmanee Assistant professor in Behavioral Science Research, Srinakarinwirot University

Keywords:

well-being, effective learning behavior, accounting students

Abstract

The objectives of this research were to study 1) the predicting power on efficient learning behavior by psychological trait, psychological state, and situational 2) interaction effect between psychological trait, and situational related to efficient learning behavior. The sample size was comprised of 232(2nd, 3rd and 4th year) accounting students who have G.P.A above 3.0 in academic year of 2011. Frequency, descriptive statistics, standard and stepwise multiple regressions and two-way ANOVA were used for statistics analysis in overall group and subgroup according to socio-demographic characteristics. The research findings were as follows: 1) all 8 factors of psychological trait , psychological state, and situational could predict: 46.6% of variance of efficient learning behavior. The factors with the most predicting power were positive attitude towards efficient learning behavior, achievement motive, well-being, and positive attitude towards professors, respectively. 2) the interaction effect was found between future orientation and self-control and high level of positive class atmosphere’s perception in male students, students with high school education background, and sophomore year of bachelor degree.

 

Keywords:  well-being, effective learning behavior, accounting students

บทคัดย่อ

การวิจัยเชิงความสัมพันธ์เปรียบเทียบมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) อำนาจการทำนายพฤติกรรมการเรียนอย่างมีประสิทธิภาพด้านจิตเดิม จิตตามสถานการณ์ และลักษณะทางสังคม และ 2) ปฏิสัมพันธ์ระหว่างจิตเดิม และลักษณะทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการเรียนอย่างมีประสิทธิภาพของนักศึกษาสาขาวิชาการบัญชี กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาสาขาวิชาการบัญชีระดับชั้นปีที่ 2 ปี3 และปี4 ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตั้งแต่ 3.00 ขึ้นไป ปีการศึกษา 2554 จำนวน 232 คน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพื้นฐาน การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ และวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบสองทาง ผลวิจัยพบว่า 1) ตัวทำนายในกลุ่มจิตเดิม จิตตามสถานการณ์ และลักษณะทางสังคมรวม 8 ตัวแปร ร่วมกันทำนายพฤติกรรมการเรียนอย่างมีประสิทธิภาพได้ร้อยละ 46.6 ตัวทำนายที่สำคัญตามลำดับ คือ เจตคติที่ดีต่อพฤติกรรมการเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ ความสุขใจ และเจตคติที่ดีต่ออาจารย์ผู้สอน  2) พบปฏิสัมพันธ์ระหว่างลักษณะมุ่งอนาคตควบคุมตน และรับรู้บรรยากาศที่ดีในชั้นเรียนในภาพรวม พบในกลุ่มนักศึกษาชาย กลุ่มวุฒิการศึกษาเดิมมัธยมศึกษาตอนปลาย กลุ่มกำลังศึกษาระดับชั้นปี 2

 

คำสำคัญ ความสุขใจ พฤติกรรมการเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ นักศึกษาสาขาวิชาการบัญชี

Downloads

Published

2013-01-04

How to Cite

Magjaroen, L., Junprasert, T., & Sodmanee, O. (2013). Psycho- Social Factors and Well-being Related to Effective Learning Behavior of Accounting Students in Faculty of Business Administration Rajamangala University of Technology Phra Nakhon ปัจจัยทางจิตสังคมและความสุขใจที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการเรียน อย่างมีประสิทธิภาพของนัก. Journal of Behavioral Science for Development, 5(1). Retrieved from https://so02.tci-thaijo.org/index.php/JBSD/article/view/4697