ปัจจัยทางจิตลักษณะและสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมจดจ่อใส่ใจในการเรียนของนักศึกษาระดับปริญญาตรีที่เป็นรุ่นแรกของครอบครัว
Keywords:
absorptive behavior relating to study, the first-generation university students, interactionism modelAbstract
This research was a correlation-comparative study, base on the Interactionism model as the conceptual research framework. The study aimed at investigating the Psychological Characteristics and Situational Factors as Correlate of absorptive behavior relating to study. The samples were the first-generation university students with the total of 543 undergraduate students from freshmen and sophomore level. Data obtained by multi-stage sampling method. The result revealed that Pearson’s correlation indicated a positive and significant relationship (p<.01) between social support from adviser/ favorite teacher, need for achievement and favorable attitude toward learning. The result of multiple regression analysis showed all independent variables together explained 40.2%. The important predictors in descending order were a stress of study, need for achievement, the favorable attitude toward learning and expectation from family on education. the at-risk group of the first-generation university students were
1) low- grade point average students 2) female students who is not the first child and 3) male students who is a first child. The result suggested for the development at-risk group of students. and can be a basis for further research and development of appropriate study behavior.
References
กุสุมา ยกชู. (2553). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเตรียมความพร้อมในการสอบ GAT และ PAT ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่6 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ รัชดา เขตห้วยขวาง. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (จิตวิทยาการศึกษา). กรุงเทพ ฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
คมนา วัชรธานินท์. (2546). ปัจจัยเชิงเหตุและผลที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมอาสาสมัครพัฒนาของนักศึกษามหาวิทยาลัย. ภาคนิพนธ์ คณะพัฒนาสังคม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
จิราภรณ์ ประเสริฐหล้า. (2557). ปัจจัยทางจิตและลักษณะสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าศึกษาต่อในสถาบันอุดมศึกษาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 สังกัดสำนักการศึกษากรุงเทพมหานคร. ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ณัชวดี จันทร์ฟอง. (2549). องค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อการปรับตัวด้านการเรียนที่เน้นผู้ เรียนเป็นสําคัญของนักเรียนในระดับช่วงชั้นที่ 4 โรงเรียนมัธยมประชานิเวศน์ เขตจตุจักรกรุงเทพมหานคร. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (จิตวิทยาการศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ณัฐวัตร ลุณหงส์. (2544). การศึกษาความสัมพันธ์ ระหว่างปัจจัยทางครอบครัว สังคมและสภาพแวดล้อม กับการควบคุมตนเองและการมีพฤติกรรมที่ไม่หมาะสมของนักเรียน: ศึกษาเฉพาะนักเรียนชั้นมัธยมตอนต้นในจังหวัดสมุทรปราการ. วิทยานิพนธ์ สส.ม. (การจัดการโครงการสวัสดิการสังคม). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.
ดวงเดือน พันธุมนาวิน และ ดุจเดือน พันธุมนาวิน. (2541). การเสริมสร้างคุณภาพของคนไทย: การพัฒนาเอกลักษณ์แห่งอีโก้. วารสารพัฒนาสังคม, 2(4), 76–95.
ดวงเดือน พันธุมนาวิน และ เพ็ญแข ประจนปัจนึก. (2524). ความสัมพันธภายในครอบครัวกับ สุขภาพจิตและจริยธรรมของนักเรียนวัยรุน. รายงานการวิจัย ฉบับที่ 26. สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.
ดุจเดือน พันธุมนาวิน. (2547). ปัจจัยทางจิตสังคมที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการสนับสนุนทางสังคมของหัวหน้าในสถานีอนามัยตำบล. กรุงเทพฯ : คณะพัฒนาสังคม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
ดุจเดือน พันธุมนาวิน. (2550a). ปัจจัยเชิงเหตุของพฤติกรรมใฝ่รู้และใฝ่ดีของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นตามแนวทฤษฎีปฏิสัมพันธ์นิยม. กรุงเทพฯ: คณะพัฒนาสังคม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
ดุจเดือน พันธุมนาวิน. (2550b). ปัจจัยเชิงเหตุของพฤติกรรมใฝ่รู้และใฝ่ดีของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น
ตามแนวทฤษฎีปฏิสัมพันธ์นิยม. รายงานการวิจัยโครงการวิจัยแม่บท: การวิจัยและพัฒนาระบบพฤติกรรมไทย. กรุงเทพฯ: การวิจัยและพัฒนาระบบพฤติกรรมไทย สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
ดุจเดือน พันธุมนาวิน และคณะ. (2537). ปญหาทางสรีระ-สังคมของมารดากับการอบรมเลี้ยงดูบุตรวัยรุน. วารสารจิตวิทยา, 1(ธันวาคม), 85.
ดุจเดือน พันธุมนาวิน และอัมพร ม้าคนอง. (2547). ปัจจัยเชิงเหตุและผลของพฤติกรรมการพัฒนานักเรียนของครูคณิตศาสตร์ในระดับมัธยมศึกษา. กรุงเทพมหานคร.
ธนาวรรณ ธนพรดี. (2551). ปัจจัยที่ส่งผลต่อเป้าหมายในชีวิตของนักเรียนช่วงชั้นที่ 4 โรงเรียนพระหฤทัยคอนแวนต์ เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร. ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต (จิตวิทยาการศึกษา). บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
นพมาศ แซ่เสี้ยว. (2550). การปรับตัวทางจิตสังคมและลักษณะสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพชีวิตของผู้ใหญ่วัยกลางคน. ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาการวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
นิศากร สนามเขต. (2550). การมีภูมิคุ้มกันภายในและภายนอกที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการคบเพื่อนอย่างเหมาะสมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย. ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (พัฒนาสังคม) คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
บังอร โสฬส และ อัจฉรา วงศ์วัฒนามงคล. (2539). การศึกษาความเครียดในการทำงานของผู้บริหารในวงราชการไทย. กรุงเทพฯ : คณะกรรมการส่งเสริมการวิจัย สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารสาสตร์.
ปัญจมาส ทวิชาตานนท์. (2555). ปัจจัยพหุระดับที่ส่งผลต่อความยึดมั่นผูกพันในงานของเจ้าหน้าที่องค์กรไม่แสวงหาผลกำไรที่ปฏิบัติงานด้านเอดส์. ปริญญานิพนธ์ วท.ม. (การวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ปิยะวรรณ เลิศพานิช. (2542). การศึกษาความเครียดสาเหตุของความเครียดและวิธีเผชิญความเครียดทางการเรียนของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา ส่วนกลาง. ปริญญานิพนธ์ (กศ.ม. จิตวิทยาการแนะแนว) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.
พิษณุ ลิมพะสูตร. (2555). พฤติกรรมการตั้งใจเรียนของนักศึกษาระดับปริญญาตรีภาคพิเศษ มหาวิทยาลัยราชภัฎราชนครินทร์. สารนิพนธ์ กศ.ม.(จิตวิทยาพัฒนาการ) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ไพศาล แย้มวงษ์. (2555). การศึกษาการสนับสนุนทางสังคมที่ส่งผลต่อความพึงพอใจในชีวิตของนักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต (สาขาจิตวิทยาการแนะแนว) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ภมริน เชาวนจินดา. (2542). ลักษณะทางพุทธสาสนาที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ. ภาคนิพนธ์ปริญญา
ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต (สาขาการวิเคราะห์และวางแผนทางสังคม) คณะพัฒนาสังคม สถาบันบัณฑิตพัฒน
บริหารศาสตร์.
วิเชียร ธรรมาธร. (2547). ปัจจัยทางจิตสังคมที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการทำงานอย่างมีจริยธรรมด้านการอุทิศตนของข้าราชการกรมกำลังพลทหารอากาศ. วารสารจิตพฤติกรรมศาสตร์ : ระบพฤติกรรมไทย, 1(2), 97–114.
ศักดิ์ชัย จันทะแสง. (2550). การศึกษาปัจจัยด้านสติปัญญาและด้านที่ไม่ใช่สติปัญญาที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ และวิชาวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม.(การวิจัยและสถิติทางการศึกษา).กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ศักดิ์ชัย นิรัญทวี. (2532). ความแปลกแยกกับพฤติกรรมการทำงานของครูสังกัดกรุงเทพมหานคร. ปริญญานิพนธ์ กศ.ด. (สาขาพัฒนศึกษาศาสตร์) กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
สิริพร ดาวัน. (2540). ตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับความขยันหมั่นเพียรในการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนพิบูลวิทยาลัย จังหวัดลพบุรี. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต. การศึกษา (จิตวิทยาการศึกษา) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.
สุชาดา ชลานุเคราะห์. (2552). ปัจจัยทางจิตสังคมที่เกี่ยวกับพฤติกรรมการทำงานอย่างมีจริยธรรมของหัวหน้าสถานีอนามัย. ภาคนิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (พัฒนาสังคม) คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
สุภาสิณี นุ่มเนียม. (2546). ปัจจัยทางสภาพแวดล้อมและจิตลักษณะที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมรับผิดชอบต่อหน้าที่ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น. กรุงเทพฯ : คณะพัฒนาสังคม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
สุมิตตรา เจิมพันธ์. (2545). จิตลักษณะและประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (พัฒนาสังคม) คณะพัฒนาสังคม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
สุรพงษ์ ชูเดช. (2534). ความสัมพันธ์ระหว่างประสบการณ์ในมหาวิทยาลัยกับจิตลักษณะที่สำคัญของนิสิต. ปริญญานิพนธ์ วท.ม. (พฤติกรรมศาสตร์). สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
อรพินทร์ ชูชม. (2557). การวิเคราะห์โครงสร้างความยึดมั่นผูกพันในงาน. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีสเทิร์น, 11(2), 75–79.
Bakker, A. B., Hakanen, J. J., Demerouti, E., & Xanthopoulou, D. (2007). Job resources boost work engagement, particularly when job demands are high. Journal of Educational Psychology, 99(2), 274–284.
Barone, S., McMillion, R., Tym, C., & Webster, J. (2004). First-Generation College Students: A Literature Review. TG Research.
Choy, S. P. (2001). Students Whose Parents Did Not Go to College: Postsecondary Access, Persistence, and Attainment. The Condition of Education.
Csikszenthmihalyi, M. (1990). Flow The psychology of optimal experience (1st ed.). New York: HarperCollins.
Endler, N. S., & Magnusson, D. (1976). Toward an interactional psychology of personality. Psychological Bulletin, 83(5), 956–974.
Erikson, E. (1968). Identity: Youth and crisis. New York: W. W. Norton Company.
Hsiao, K. P. (1992). First-Generation College Students. ERIC Digest. ERIC Clearinghouse for Junior Colleges, Los Angeles, CA. Retrieved from https://search.ebscohost.com/login.aspx?direct=true&db=eric&AN=ED351079&site=ehost-live
Judge, T. A., Erez, A., Bono, J. E., & Thoresen, C. J. (2003). The core self-evaluations scale: Development of a measure. Personnel Psychology, 56(2), 303–331.
Judge, T. A., Locke, E. A., & Durham, C. C. (1997). The dispositional causes of job satisfaction: A core evaluations approach. Research in Organizational Behavior, 19, 151–188.
McCarron, G. P., & Inkelas, K. K. (2006). The Gap between Educational Aspirations and Attainment for First-Generation College Students and the Role of Parental Involvement. Journal of College Student Development, 47(5), 534–549.
O’Farrell, S. L., & Morrison, G. M. (2003). A Factor Analysis Exploring School Bonding and Related Constructs Among Upper Elementary Students. The California School Psychologist, 8(1), 53–72.
Pamela A. Peters. (2009). Inspired to be the First: Factors that Predispose African American and Mexican American First-Generation Students to Pursue Higher Education. College of Education and Leadership Cardinal Stritch University.
Pike, G. R., & Kuh, G. D. (2005). First- and Second-Generation College Students: A Comparison of Their Engagement and Intellectual Development. The Journal of Higher Education, 76(3), 276–300.
Rahim, A. H. A., & Azman, N. (2010). Educational aspirations among first-generation students and their parental influence towards pursuing tertiary education. Procedia - Social and Behavioral Sciences, 7(2), 414–418. https://doi.org/10.1016/j.sbspro.2010.10.056
Saenz, V. B., Hurtado, S., Barrera, D., Wolf, D., & Yeung, F. (2007). First in my family: A profile of first-generation college students at four-year institutions since 1971, 79.
Thayer, P. (2000). Retention of Students from First Generation and Low Income Backgrounds. The Journal of the Counsel for Opportunity in Education., 9. Retrieved from https://www.csun.edu/afye/documents/Thayer-2000-first-gen-retention-lit-review.pdf