ความสัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะของคณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการตรวจสอบกับผลการดำเนินงานของบริษัทในกลุ่ม SETHD
คำสำคัญ:
คณะกรรมการบริษัท, คณะกรรมการตรวจสอบ, ผลการดำเนินงานบทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของคุณลักษณะของคณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการตรวจสอบกับผลการดำเนินงานของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กลุ่ม SETHD ในช่วงสถานการณ์แพร่ระบาดของโควิด 19 ในช่วงปี พ.ศ. 2561- พ.ศ. 2565 จำนวน 135 ข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย ค่าสูงสุด ค่าต่ำสุด ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์สมการถดถอยพหุคูณ
ผลการวิจัยพบว่า คุณลักษณะของคณะกรรมการบริษัทด้านจำนวนคณะกรรมการบริษัท ด้านจำนวนของคณะกรรมการอิสระ ด้านจำนวนคณะกรรมการตรวจสอบและด้านการควบรวมตำแหน่งของกรรมการบริษัทและประธานกรรมการบริหาร ไม่มีความสัมพันธ์ต่อผลการดำเนินงาน (Tobin’s Q) ของบริษัทในกลุ่ม SETHD ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด 19 ส่วนการควบรวมตำแหน่งของประธานกรรมการบริษัทและประธานกรรมการบริหาร มีความสัมพันธ์เชิงบวกต่อผลการดำเนินงาน (Tobin’s Q) ของบริษัทในกลุ่ม SETHD ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด 19 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่าบริษัทในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยที่มีการควบรวมตำแหน่งประธานกรรมการบริษัทและประธานคณะกรรมการบริหาร จะส่งผลให้บริษัทมีผลการดำเนินงานที่ดีเนื่องจากสามารถตัดสินใจเรื่องต่างๆ ได้อย่างรวดเร็ว
References
ณัฐชา อัตถพลพิทักษ์. (2562). การกำกับดูแลกิจการและต้นทุนของเงินทุน: การศึกษาเชิงประจักษ์บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารสภาวิชาชีพบัญชี, 1(1). 1-19.
ธัญญา ฉัตรร่มเย็น. (2558). ความสัมพันธ์ระหว่างการกำกับดูแลกิจการกับผลการดำเนินงานของบริษัท จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในกลุ่ม SET100. การค้นคว้าอิสระวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
นันทิยา พรมทอง. (2563). ความสัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะของคณะกรรมการบริษัทและผลการดำเนินงานของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์เอ็มเอไอ. วารสารบริหารธุรกิจและการบัญชี. 4(1), 117-136.
นิตยา ทัดเทียม และพิมพิศา พรหมมา. (2562). ความสัมพันธ์ระหว่างกลไกการกำกับดูแลกิจการที่ดีและผลการดำเนินงานของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (SET 100). วารสารสุทธิปริทัศน์. 34(109), 150-161.
พรชนก เฉลิมพงษ์, พัทธนันท์ เพชรเชิดชู และศิริเดช คำสุพรหม. (2562). คณะกรรมการบริษัท และนวัตกรรม กับผลการดำเนินงานของบริษัทจด ทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารสุทธิปริทัศน์. 33(103), 108-120
พิภัสสร อาชวพรวิทูร. (2564). ความสัมพันธ์ระหว่างบทบาทของคณะกรรมการและโครงสร้างผู้ถือหุ้นต่อผลการดำเนินงานของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กลุ่ม SET100. การค้นคว้าอิสระบัญชีมหาบัณฑิต. คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ภาณุวัฒน์ คณะโต. (2560). ความสัมพันธ์ระหว่าง TOBIN’S Q กับราคาหลักทรัพย์ของบริษัทกลุ่มอุตสาหกรรมเทคโนโลยีหมวดธุรกิจเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. การค้นคว้าอิสระวิทยาศาสตรบัณฑิต. มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
สินี ภาคย์อุฬาร. (2558). ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราส่วนทางการเงินกับราคาหลักทรัพย์ของบริษัทที่มีมูลค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาดสูงสุดของแต่ละกลุ่มอุตสาหกรรมที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย. การค้นคว้าอิสระวิทยาศาสตรบัณฑิต. มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
พีรวัส เหรียญเสาวภาคย์. (2565). ผลกระทบของการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ในประเทศไทยทั้ง 4 ระลอกต่ออัตราผลตอบแทนรวมของบริษัทในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและอัตราผลตอบแทนที่ผิดปกติสะสมของหลักทรัพย์ในกล่มการเงิน, กลุ่มอสังหาริมทรัพย์, กลุ่มสินค้าจําเป็น และกลุ่มสินค้าฟุ่มเฟือย. สารนิพนธ์ปริญญาการจัดการมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยมหิดล.
ภูษณิศา ส่งเจริญ. (2562). ความสัมพันธ์ระหว่างคณะกรรมการตรวจสอบและผลการดำเนินงานของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารวิชาการสถาบันเทคโนโลยีแห่งสุวรรณภูมิ. 5(1), 162-172.
รจนา ขุนแก้ว และคณะ. (2564) ความสัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะของคณะกรรมการ คะแนนการกำกับดูแลกิจการและหลักความระมัดระวังทางบัญชีของบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ. วารสารวิชาการ. 41(2),127-147.
วรัญญา มโนสุนทร. (2558). ความสัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะของคณะกรรมการบริษัทและคุณลักษณะของคณะกรรมการต่อผลการดำเนินงานของบริษัท : กรณีศึกษา บริษัทไอพีโอในประเทศไทย.การค้นคว้าอิสระบัญชีมหาบัณฑิต. คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี.มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
เอกภาพ เอกวิกรัย. (2562). ผลของการกำกับดูแลกิจการและการเปลี่ยนผู้บริหารสูงสุดต่อผลการดำเนินงานและความเสี่ยงของบริษัท. วารสารวิชาชีพบัญชี. 15(46), 27-44.
สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์. (2566). เอกสารเผยแพร่ของบริษัทที่ออกและเสนอขายหลักทรัพย์ (sec.or.th). แหล่งที่มาhttps://market.sec.or.th/public/idisc/th/FinancialReport/FS
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (2566). CORPORATE GOVERNANCE การกำกับดูแลกิจการ ปี 2566. แหล่งที่มา https://www.setsustainability.com/page/corporate-governance
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (2566). ข้อมูลรายชื่อบริษัทตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. แหล่งที่มา http://www.set.or.th/th/market/constituents.html.
Burton, G., D. Pathak, and R. Zigli. (1977). The Effects of Group Size on Nominal Grouping, Santa Clara Business Review, 8(1), 25-31.
Cummings, L. L., Huber, G. P. & Arend, E. (1974). Effects of size and spatial arrangements on group decision making. Academy of Management Journal, 17(3), 460-475.
Dezoot, F.T., Hermanson, D.R., Archambeault, D.S., & Reed, S.A. (2002). Audit committee effectiveness: A synthesis of the empirical audit committee literature. Journal of Accounting Literature, 21, 38-75.
Greve, H. R. (2008). A behavioral theory of firm growth: Sequential attention to size and performance goals. Academy of Management Journal, 51(3), 476-494.
Hair, J. F., Black, W. C., Babin, B. J. & Anderson, R. E. (2010). Multivariate Data Analysis (7th ed.). Upper Saddle River, New Jersey: Pearson Education International.
Jensen, M. C., & Meckling, W. H. (1976). Theory of the firm: Managerial behavior, agency costs, and ownership structure. Journal of Financial Economics, 3, 305-360.
Lipton, M., &J.W.Lorsch, (1992).A modest proposal for improved corporate governance.Business Lawyer48. pp. 59-77.
Orlitzky, M. (2001). Does firm size comfound the relationship between corporate social performance and firm financial performance? .Journal of Business Ethics, 33(2), 167-180.
Orser, B. J., Hogarth-Scott, S., & Riding, A. L. (2000). Performance, firm size, and management problem-solving. Journal of Small Business Management, 38(4), 42-58.
Panyagometh, K. (2020). The Effects of Pandemic Event on the Stock Exchange of Thailand. Economies, 8(4), 90. 1-21.
Saechua, B., Thongchan, S. & Singyam, P. (2019). The relationship between characteristics of chairman and earnings quality. Journal of Buddhist Education and Research, 5(2), 389-400. (In Thai)
Saechua, P. & Boonmunewai, S. (2019). The relationship between family-firms,executive compensation, and firm performance of listed in the Stock Exchange of Thailand. KKBS Journal of Business Administration and Accountancy, 3(2), 75-95. (In Thai)
Stevens, J. P. (1992). Applied Multivariate Statistics for the Social Sciences. NJ: Lawrence Erlbaum Associates. Hillsdale.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ต้นฉบับที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารบัญชีปริทัศน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ถือเป็นกรรมสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ไม่อนุญาตให้นำข้อความทั้งหมดหรือบางส่วนไปพิมพ์ซ้ำ เว้นเสียแต่ว่าจะได้รับอนุญาตจากมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย เป็นลายลักษณ์อักษร