การพัฒนาและศึกษาต้นทุนผลตอบแทนของผลิตภัณฑ์เครื่องประดับจากผ้ามัดย้อม บ้านทุ่งโฮ้ง ตำบลทุ่งโฮ้ง อำเภอเมือง จังหวัดแพร่
คำสำคัญ:
การพัฒนา, ต้นทุน, ผลตอบแทน, ความพึงพอใจ, ผลิตภัณฑ์เครื่องประดับจากผ้ามัดย้อมบทคัดย่อ
การศึกษาการพัฒนาและศึกษาต้นทุนผลตอบแทนของผลิตภัณฑ์เครื่องประดับจากผ้ามัดย้อมบ้านทุ่งโฮ้ง ตำบลทุ่งโฮ้ง อำเภอเมือง จังหวัดแพร่ ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและศึกษาความพึงพอใจของผู้บริโภคที่มีต่อผลิตภัณฑ์เครื่องประดับจากผ้ามัดย้อม และเพื่อศึกษาต้นทุนและผลตอบแทนของผลิตภัณฑ์เครื่องประดับจากผ้ามัดย้อม บ้านทุ่งโฮ้ง ตำบลทุ่งโฮ้ง อำเภอเมือง จังหวัดแพร่ กลุ่มตัวอย่างทีใช้ในการศึกษาผู้ตอบแบบสอบถามจำนวน 400 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการศึกษาพบว่า ความพึงพอใจที่มีต่อผลิตภัณฑ์เครื่องประดับจากผ้ามัดย้อมในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( = 4.38) เมื่อพิจารณาแต่ละด้านพบว่าด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ ด้านการผลิตภัณฑ์ ( = 4.41) รองลงมา ได้แก่ ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย ( = 4.39) ด้านการส่งเสริมทางการตลาด ( = 4.36) และด้านราคา ( = 4.35) ต้นทุนการผลิตของเครื่องประดับจากผ้ามัดย้อมสร้อยคอ แบบที่ 1 ต้นทุนรวม 60 บาท สร้อยคอ แบบที่ 2 ต้นทุนรวม 61 บาท ตุ้มหู แบบที่ 1 ต้นทุนรวม 54 บาท ตุ้มหู แบบที่ 2 ต้นทุนรวม 46.25 บาท อัตราผลตอบแทนจากการลงทุน (ROI) ที่ได้จากการลงทุนในผลิตภัณฑ์เครื่องประดับจากผ้ามัดย้อม สร้อยคอ แบบที่ 1 คือ ร้อยละ 65.00 สร้อยคอ แบบที่ 2 คือ ร้อยละ 29.51 ตุ้มหู แบบที่ 1 คือ ร้อยละ 27.78 และตุ้มหู แบบที่ 2 คือ ร้อยละ 58.92
References
กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม. (2563). ต้นทุนการผลิตและวิธีการลดต้นทุนการผลิต. สืบค้นเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2565. จาก https://shorturl.asia/fGupF
เกวลิน อุ่นญาติ. (2564). ต้นทุนผลตอบแทนการพัฒนาและปญหาในการผลิตผ้ามัดย้อมชุมชนบ้านห้วยก้างปลา ตำบลไม้ยา อำเภอพญาเม็งรายจังหวัดเชียงราย. วารสารบัญชีปริทัศน์, 6(2), 80-88.
จิตพนธ์ ชุมเกตุ. (2560). การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพทางการจัดการชุมชนอย่างยั่งยืนของชุมชนไทยมุสลิม อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี. คณะวิทยาการจัดการ. มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ธเนตร์ตรี รัตนเรืองยศ. (2564). การตลาด 4P คืออะไร. สืบค้นเมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2565. จาก https://thaiwinner.com/4p-marketing-mix/
_______(2563). Return on Investment (ROI) คืออะไร. สืบค้นเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2565. จาก https://thaiwinner.com/what-is-roi/
พวงรัตน์ ทวีรัตน์. (2540). วิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ : สำนักทดสอบทางการศึกษาและจิตวิทยา มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒประสานมิตร.
ภาวินีย์ ธนาอนวัช. (2562). การบริหารต้นทุนการผลิตและการวางแผนกําไรผลิตภัณฑ์ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนตําบลบางนางร้า อําเภอบางปะหัน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เพื่อยกระดับเศรษฐกิจชุมชน. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี, 9(1), 47-56.
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา. (มปป.). การวางแผนการผลิต ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต. สืบค้นเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2565. จาก https://shorturl.asia/vexw2
วิฑูรย์ จันทวงสี. (2556). ความพึงพอใจ พฤติกรรม และแนวโน้มพฤติกรรมของผู้บริโภคที่มีต่อการใช้บริการ 3G PLUS เครือข่าย True Move H ในกรุงเทพมหานคร. บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ. (2559). ภูมิปัญญาไทย. สืบค้นเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2565. จาก https://www.nectec.or.th/thailand/thai-wisdom.html
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2565). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่สิบสาม พ.ศ. ๒๕๖๖ – ๒๕๗๐. สืบค้นเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2565. จาก https://www.nesdc.go.th/download/Plan13/Doc/Plan13_Final.pdf
สำนักบริหารการทะเบียน. (2565). สถิติจำนวนประชากร. สืบค้นเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2565. จาก https://shorturl.asia/a6jQd
สำเริง นนศิริ และรติพร มีชัย. (2560). ต้นทุนและผลตอบแทนผลิตภัณฑ์ผ้าย้อมครามของกลุ่มทอผ้าย้อมสีธรรมชาติบ้านพันนา ตำบลพันนา อำเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร.วารสารวิชาการวิทยาลัยสันตพล, 3(2), 209-222.
Cronbach, L. J. (1990). Essentials of psychological testing. (5th ed.). New York : Harper Collins Publishers.
Yamane, T. (1970). Statistics; An Introductory Analysis. (2nd ed.). New York: Harper and Row.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ต้นฉบับที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารบัญชีปริทัศน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ถือเป็นกรรมสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ไม่อนุญาตให้นำข้อความทั้งหมดหรือบางส่วนไปพิมพ์ซ้ำ เว้นเสียแต่ว่าจะได้รับอนุญาตจากมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย เป็นลายลักษณ์อักษร