การสังเคราะห์งานวิจัยแบบจำลองการพยากรณ์ภาวะความล้มเหลวของธุรกิจ

ผู้แต่ง

  • วิชชกานต์ เมธาวิริยะกุล สำนักวิชาบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสังเคราะห์งานวิจัยแบบจำลองการพยากรณ์ภาวะ ความล้มเหลวของธุรกิจ ได้แก่ กลุ่มแบบจำลองทางสถิติดั้งเดิม (Traditional Statistical Models) คือ (1) การวิเคราะห์จำแนกประเภทหลายตัวแปร (Multivariate Discriminant Analysis: MDA) เป็นแบบจำลองที่ใช้มากที่สุดในวรรณกรรมเกี่ยวกับภาวะล้มละลาย (Bankruptcy Literature) (2) การวิเคราะห์จำแนกประเภทกำลังสอง (Quadratic Discriminant Analysis: QDA) เป็นแบบจำลองที่มีข้อจำกัดในเรื่องสมมติฐานทางสถิติ น้อยกว่า (3) แบบจำลองโลจิท (Logit Model) หรือการวิเคราะห์ความถดถอยโลจิสติค (Logistic Regression Analysis) (4) แบบจำลองโพบิท (Probit Model) ทั้ง 2 แบบจำลอง นำเสนอในรูปแบบของความน่าจะเป็น (Probabilistic Approach) ต่อมาคือกลุ่มแบบ จำลองการเรียนรู้ของเครื่องจักร (Machine Learning Models) คือ (5) ต้นไม้การตัดสิน ใจ (Decision Tree: DT) (6) โครงข่ายประสาทเทียม (Artificial Neural Networks: ANN หรือ NN) (7) ซัพพอร์ตเวกเตอร์แมชชีน (Support Vector Machine: SVM) ซึ่งเป็นแบบจำลองสมัยใหม่ที่มีผลลัพธ์ในการพยากรณ์ที่ถูกต้องแม่นยำสูง และแบบจำลองดังกล่าวไม่มี ข้อจำกัดเกี่ยวกับสมมติฐานทางสถิติเหมือนแบบจำลองทางสถิติดั้งเดิม นอกจากนี้ยังได้นำ เสนอข้อมูลสถิติความถูกต้องแม่นยำในการพยากรณ์ของแบบจำลองประเภทต่างๆ ในแต่ละ ยุคสมัยอีกด้วย

References

จีรนันท์ เขิมขันธ์, & สุรชัย จันทร์จรัส. (2556). เครื่องมือพยากรณ์ความล้มเหลวทาง การเงิน. วารสารนักบริหาร, 33(4), 34-41.

ประเสริฐ ลีฬหาวาสน์, & มนวิกา ผดุงสิทธิ์. (2552). การพยากรณ์ภาวะล้มเหลวทาง ธุรกิจจากข้อมูลทางบัญชี. วารสารวิชาชีพบัญชี, 5(13), 65-82.

ปานรดา พิลาศรี. (2553). แบบจำลองภาวะความล้มเหลวทางการเงินของบริษัท จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (บัญชีมหาบัณฑิต), มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรกรุงเทพฯ.

สิทธิพล สมชม, & ณัฐวุฒิ คูวัฒนเธียรชัย. (2557). ความสัมพันธ์ของอันดับความน่า เชื่อถือกับโอกาสประสบภาวะตกต่ำทางการเงินของบริษัทที่จดทะเบียนใน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. Paper presented at the SEC Working Papers Forum ครั้งที่ 3/2557, กรุงเทพฯ.

อภิญญา อดทน. (2553). การเปรียบเทียบความสามารถของแบบจำลองเพื่อทำนาย ภาวะล้มเหลวทางการเงินแบบ Altman’s Z-Score และ Zmijewski Model ของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์. (บัญชีมหาบัณฑิต การศึกษาด้วยตนเอง), มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

เอกสิทธิ์ พัชรวงศ์ศักดา. (2557). เทคนิค Support Vector Machine (SVM) และ ซอฟต์แวร์ HR-SVM. Retrieved 18 มีนาคม 2560, from http://datamin ingtrend.com /2014/support-vector-machine-svm/

Altman, E. I. (1968). Financial ratios, discriminant analysis and the prediction of corporate bankruptcy. The Journal of Finance, 23(4), 598-609.

Aziz, M. A., & Dar, H. A. (2006). Predicting corporate bankruptcy: where we stand? CORPORATE GOVERNANCE, 6(1), 18-33.

Bal, J., Cheung, Y., & Wu, H.-C. (2013). Entropy for business failure prediction: an improved prediction model for the construction industry. Advances in Decision Sciences, 2013, 1-14.

Beaver, W. H. (1966). Financial ratios as predictors of failure. Journal of Accounting Research, 4, 71-111.

Beaver, W. H. (1968). Market prices, financial ratios, and the prediction of failure. Journal of Accounting Research, 6(2), 179-192.

Bellovary, J., Giacomino, D., & Akers, M. (2007). A review of bankruptcy prediction studies: 1930-present. Journal of Financial Education, 33, 1-42.

Kpodoh, B. (2009). Bankruptcy and financial distress prediction in the mobile telecom industry. (Master’s Degree in Business Administration), Blekinge Institute of Technology.

National Institute of Open Schooling. (2016). Objectives of business. Retrieved 12 พฤศจิกายน 2559, from http://old.nios.ac.in/Secbus cour/cc03.pdf

Ohlson, J. A. (1980). Financial ratios and the probabilistic prediction of bankruptcy. Journal of Accounting Research, 18(1), 109-131.

Okay, K. (2015). Predicting business failures in non-financial Turkish companies. (Master of Science), İhsan Doğramacı Bilkent University.

Rapid Miner. (2016). Quadratic Discriminant Analysis. Retrieved 22 ธันวาคม 2559, from http://docs.rapidminer.com/studio/operators/modeling/ predictive/discriminant_analysis/quadratic_discriminant_analysis. Html

Downloads

เผยแพร่แล้ว

30-12-2016