การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้โดยใช้ ADDIE MODEL ในการสร้างสมรรถนะการเป็นพลเมืองที่เข้มแข็งตามหลักสูตรฐานสมรรถนะ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน

ผู้แต่ง

  • พิมพ์ตะวัน จันทัน -

DOI:

https://doi.org/10.14456/educu.2024.15

คำสำคัญ:

การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้โดยใช้ ADDIE MODEL, สมรรถนะการเป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง, นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์การวิจัย 1)เพื่อศึกษาพฤติกรรมบ่งชี้ของสมรรถนะการเป็นพลเมืองที่เข้มแข็งตามหลักสูตรฐานสมรรถนะ 2)เพื่อพัฒนารูปแบบการเรียนรู้โดยใช้ ADDIE MODEL ในการสร้างสมรรถนะการเป็นพลเมืองที่เข้มแข็งและ3) เพื่อศึกษาประสิทธิผลของรูปแบบการเรียนรู้ โดยใช้กระบวนการวิจัยและพัฒนา กลุ่มตัวอย่างคือ ครูสอนวิชาสังคมศึกษา 10 คนและนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 30 คนโดยการคัดเลือกแบบอาสาสมัคร วิธีการที่ใช้คือการสอบถามข้อมูลและการสัมภาษณ์เชิงลึก นำมาวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติคือ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ และวิเคราะห์คำหลัก ผลการวิจัยพบว่า พฤติกรรมบ่งชี้ของสมรรถนะความเป็นพลเมืองที่เข้มแข็งมี 5 ข้อ คือ 1. มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ 2. เคารพสิทธิของตนเองและผู้อื่น 3. เคารพกติกาและกฎหมาย 4. มีส่วนร่วมทางสังคมอย่างมีวิจารณญาณ 5. เคารพความหลากหลายของคนในสังคมและรูปแบบการจัดการเรียนรู้ “พลเมืองสร้างสรรค์” ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน คือ ขั้นที่ 1 ปลุกพลังความตื่นรู้ ขั้นที่ 2 เชิดชูพลเมืองดี และขั้นที่ 3 หาวิธีสร้างวินัยเพื่อสร้างสังคมยุคใหม่บนฐานของความเท่าเทียม หลังทดลองใช้พบว่าผลของคะแนนพฤติกรรมบ่งชี้หลังเรียนสูงขึ้น

References

ภาษาไทย

จินตวีร์ คล้ายสังข์. (2560). การผลิตและการใช้สื่ออย่างเป็นระบบ เพื่อการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21.

กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ณัฐกร สงคราม. (2553). การออกแบบและพัฒนามัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้. กรุงเทพฯ:

สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ดนุลดา จามจุรี. (2561). การออกแบบการเรียนการสอนรูปแบบ ADDIE (เอกสารประกอบการเรียน).

กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2561). ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 – 2580. ฉบับราชกิจจานุเบกษา. สืบค้น 16 มกราคม 2565, จาก https://www.nesdc.go.th/download/

document/SAC/NS_SumPlanOct2018.pdf

โรงเรียนฝรั่งเศสนานาชาติ กรุงเทพ. (2564). คู่มือแนวทางการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาฐานสมรรถนะ. สืบค้น 17 มกราคม 2565, จาก https://www.lfib.ac.th/wp-content/uploads/2021/10/ เอกสารคู่มือจัดทำหลักสูตร-8_4_64.pdf

สมจิต จันทร์ฉาย. (2557). การออกแบบและพัฒนาการเรียนการสอน. นครปฐม: เพชรเกษมพริ้นติ้งกรุ๊ป.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. (2564). Competency - based Education หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช .... (หลักสูตรฐานสมรรถนะ).

สืบค้น 18 มกราคม 2565, จาก https://cbethailand.com/

------------. (2564). หลักการของหลักสูตรฐานสมรรถนะ. สืบค้น 18 มกราคม 2565, จาก https://cbethailand.com/หลักสูตร-2/กรอบหลักสูตร/หลักการ

------------. (2564). สมรรถนะหลัก 6 ด้าน. สืบค้น 18 มกราคม 2565, จาก https://cbethailand.com/ หลักสูตร-2/กรอบหลักสูตร/สมรรถนะหลัก-6-ประการ

------------. (2564). สมรรถนะการเป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง. สืบค้น 18 มกราคม 2565,

จาก https://cbethailand.com/หลักสูตร-2/กรอบหลักสูตร/สมรรถนะหลัก-6-ประการ/สมรรถนะ การเป็นพลเมือง/

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. (2562). เข้าใจสมรรถนะอย่างง่าย ๆ ฉบับ ประชาชน และเข้าใจหลักสูตรฐานสมรรถนะอย่างง่าย ๆ ฉบับครู ผู้บริหาร และบุคลากรทางการ ศึกษา. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.

ภาษาอังกฤษ

Alder S. (2004). Critical issues in social studies teacher education. A volume in research in social studies education. United states of America.

Bellamy R. (2008). Citizenship A very Short Introduction. Oxford University press. New York.

Branch, M. R. (2009). Instructional Design: The ADDIE Approach. New York: Springer.

Branson, R. K. (1978). The Interservice Procedures for Instructional Systems Development. Educational Technology, 18(3).

Davis, A. L. (2013). Using instructional design principles to develop effective information literacy instruction: The ADDIE model. College & Research Libraries News, 74(4).

E. Wayne. (2014). The social Studies curriculum fourth edition. State university of New York Press.

Januszewski, Alan; & Molenda, Michael. (2008). Educational Technology: a Definition with Commentary. New York: Taylor & Francis Group.

Kruse, K. (2008). Introduction to Instructional Design and the ADDIE Model.

Retrieved 17 January 2022, from http://www.elearningguru.com/articles/art2.

National Council for the Social Studies. (2023). New definitions of Social Studies. Retrieved 28 February 2023, from https://www.socialstudies.org/media- information/definition-social-studies-nov2023

Peterson, C. (2003). Bringing ADDIE to Life: Instructional Design at Its Best. Journal of Educational Multimedia and Hypermedia, 12(3), 227–241.

Seels, B., & Glasgow, Z. (1998). Making Instructional Design Decisions. (2nd ed.)

Upper Saddle River, NJ: Merrill.

Stephen J. (2005). Teaching Social Studies that matters. Teacher college Columbia University.

Vygotsky. (1927). The Historical Meaning of the Crisis in Psychology: A Methodological Investigation. The Collected Works of Vygotsky. Plenum Press.

Zevin J. (2023). Social Studies for the twenty-first century. Fifth edition. New York.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-03-31

How to Cite

จันทัน พ. (2024). การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้โดยใช้ ADDIE MODEL ในการสร้างสมรรถนะการเป็นพลเมืองที่เข้มแข็งตามหลักสูตรฐานสมรรถนะ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสารครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 52(1), EDUCU5201015. https://doi.org/10.14456/educu.2024.15