การศึกษาสภาพการจัดการเรียนรู้รายวิชาเทคโนโลยี เพื่อเสริมสร้างความคิดสร้างสรรค์ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
DOI:
https://doi.org/10.14456/educu.2024.12คำสำคัญ:
สภาพการจัดการเรียนรู้, ความคิดสร้างสรรค์, นักเรียนที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน, เทคโนโลยีสารสนเทศบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียนรู้รายวิชาเทคโนโลยี เพื่อเสริมสร้างความคิดสร้างสรรค์ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ครูในโรงเรียน
โสตศึกษา 11 โรงเรียน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 จำนวน 99 คน ได้มาวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน โดยใช้การสุ่มอย่างง่าย และการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามสภาพการจัดการเรียนรู้รายวิชาเทคโนโลยี เพื่อเสริมสร้างความคิดสร้างสรรค์ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า
สภาพการจัดการเรียนรู้ มีสภาพที่เป็นจริง อยู่ในระดับมาก (M = 3.72, SD = 0.56) และมีสภาพที่คาดหวัง อยู่ในระดับมากที่สุด (M = 4.61,
SD = 0.36) ซึ่งสรุปว่า สภาพการจัดการเรียนรู้ โดยครูในโรงเรียนโสตศึกษามีการวัดผลและประเมินผลตามสภาพที่เป็นจริง และมีความคาดหวังต่อกระบวนการจัดการเรียนการสอนเพิ่มขึ้น
References
ภาษาไทย
ปฐมพร บำเรอ. (2564). การพัฒนารูปแบบกิจกรรมนันทนาการประเภทการเต้นรำ ที่ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์
และนวัตกรรม สำหรับผู้เรียนในระดับอุดมศึกษา. [ปริญญานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต,
มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ]. The Central Library of Srinakharinwirot University.
http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/bitstream/123456789/1735/1/gs591150019.pdf
พรรณี ลีกิจวัฒนะ. (2558). วิธีการวิจัยทางการศึกษา (พิมพ์ครั้งที่10). มีน เซอร์วิส ซับพลาย.
เพลงรบ ฐิติกุลดิลก, วรรณี เนียมหอม และวีรฉัตร สุปัญโญ. (2560). แนวทางการจัดบริการทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ตอบสนองต่อความต้องการ ของนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน. วารสารอิเล็กทรอนิกส์
Veridian มหาวิทยาลัยศิลปากร (มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์และศิลปะ), 10(2), 2294 - 2307.
ไพฑูรย์ สินลารัตน์, นวลจิตต์ เชาวกีรติพงษ์, ทวีศักดิ์ จินดานุรักษ์, ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์,ไสว ฟักขาว, และ
ศรเนตร อารีโสภณพิเชฐ. (2559). คิดสร้างสรรค์: สอนและสร้างได้อย่างไร (พิมพ์ครั้งที่ 2).
โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วารี ถิระจิตร. (2545). การศึกษาสำหรับเด็กพิเศษ. สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ศรียา นิยมธรรม และประภัสสร นิยมธรรม. (2540). พัฒนาการทางภาษา. รำไทย เพรส.
สมจิต จันทร์ฉาย. (2557). การออกแบบและพัฒนาการเรียนการสอน. เพชรเกษมพริ้นติ้ง.
สุวิมล ว่องวาณิช. (2562). การวิจัยประเมินความต้องการจำเป็น (พิมพ์ครั้งที่ 4). สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อรพรรณ์ แก้วกันหา, จุฑามาส ศรีจำนงค์ และจุรีรัตน์ ประวาลลัญฉกร. (2560). การวิจัยปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความคิด
สร้างสรรค์ รายวิชาคอมพิวเตอร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบ้านน้้าคิว สังกัดสำนักงาน
เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 1. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 19(2), 289-304.
อาภรณ์ ใจเที่ยง. (2553). หลักการสอน (ฉบับปรับปรุง) (พิมพ์ครั้งที่ 5). โอเดียนสโตร์.
ภาษาอังกฤษ
Schmoelz, Alexander. (2017). On Co-Creativity in Playful Classroom Activities. Creativity
Theories–Research-Application, 4(1), 25-64.
Kramer, A. & Buck, L. A. (1976). Poetic Creativity in Deaf Children. American Annals of the Deaf, 121(1), 31-37.
Levine, N. (1963). Semi-Open Sets and Semi-Continuity in Topological Spaces. American
Mathematical Monthly, 70(1), 36-41.
Passig, D. & Eden, S. (2000). Improving Flexible Thinking in Deaf and Hard of Hearing Children
with Virtual Reality Technology. American Annals of the Deaf, 145(3), 286-291.
Penelitian, J., Pendidikan Ipa, Sukarso, A., Artayasa, P., Bahri, S. & Azizah, A. (2022). Provision of
Creative Teaching Materials in Improving Creative Disposition and Creative Thinking Skills
of High School Students. Jurnal Penelitian Pendidikan IPA, 8(6), 2728 - 2736.
Silver, R. A. (1977). The Question of Imagination, Originality, and Abstract Thinking by Deaf
Children. American Annals of the Deaf, 122(3), 349-354.
Theriault, D. & Stone, G. (2023). Promoting creativity in undergraduate recreation and leisure
services classrooms: An overview. SCHOLE: A Journal of Leisure Studies and
Recreation Education, 38(1), 46-57
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.