การพัฒนาเกมกระดานเพื่อการศึกษาเรื่องทักษะการขุดค้น และอธิบายแหล่งซากดึกดำบรรพ์ของสัตว์มีกระดูกสันหลังในประเทศไทย

ผู้แต่ง

  • ชลิดา จูงพันธ์ คณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

DOI:

https://doi.org/10.14456/educu.2024.19

คำสำคัญ:

เกมกระดานเพื่อการศึกษา, บรรพชีวินวิทยา, การศึกษาด้านบรรพชีวินวิทยา, แหล่งซากดึกดำบรรพ์, ทักษะการขุดค้น

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสบการณ์เรียนรู้ของผู้เล่นเกมกระดาน “สงครามฟอสซิล” เกมที่ถูกออกแบบขึ้นสำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี และบัณฑิตศึกษาสาขาบรรพชีวินวิทยาในการฝึกทักษะที่จำเป็นสำหรับการขุดค้นซากดึกดำบรรพ์สัตว์มีกระดูกสันหลังก่อนที่นักศึกษาจะออกปฏิบัติการในภาคสนาม งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัย
เชิงคุณภาพดำเนินการวิจัยในระหว่างเดือนมกราคม – เมษายน พ.ศ. 2566 กลุ่มเป้าหมายในการวิจัยประกอบไปด้วยนักศึกษาระดับปริญญาตรี และนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา 12 คน รวบรวมข้อมูลโดยใช้การสนทนากลุ่ม (focus group) และการสัมภาษณ์เชิงลึก (in-depth interview) วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์แก่นสาระ (thematic analysis) ผลการวิจัยแสดงให้เห็นองค์ความรู้ที่ได้จากการเล่นเกมแบ่งเป็น 3 ประเด็น คือ 1) ทักษะในการบริหารจัดการในการขุดค้นซากดึกดำบรรพ์ 2) ความรู้เกี่ยวกับแหล่งซากดึกดำบรรพ์สัตว์มีกระดูกสันหลังในประเทศไทย และ 3) วิธีการทำงานของนักบรรพชีวินวิทยา ข้อมูลที่ได้จากประสบการณ์ของผู้เล่นนี้จะถูกนำไปใช้เป็นฐานข้อมูลในการนำเกมกระดานสงครามฟอสซิลไปใช้เป็นเครื่องมือในห้องเรียนบรรพชีวินวิทยาที่สมบูรณ์ได้ในอนาคต

References

ภาษาไทย

ชนันภรณ์ อารีกุล. (2563). การพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้แบบเกมกระดานเพื่อเสริมสร้างความเป็น พลเมืองที่เข้มแข็งของนิสิตระดับปริญญาตรี. ปัญญาปณิธาน, 5(2), 137-150.

ชัยเสฏฐ์ พรหมศรี. (2559). การใช้เกมกระดานเพื่อสร้างความตระหนักรู้ต่อการเตรียมความพร้อมรับมือภัยพิบัติ ทางธรรมชาติ. วารสารปัญญาภิวัฒน์, 8(3), 265-279.

ประไพพิมพ์ สุธีวสินนนท์ และ ประสพชัย พสุนนท์. (2559). กลยุทธ์การเลือกตัวอย่างสำหรับการวิจัยเชิงคุณภาพ. วารสารปาริชาต มหาวิทยาลัยทักษิณ, 29(2), 31-48.

ภัทรวิท สรรพคุณ, พีรยศ ภมรศิลปะธรรม และ ลาวัลย์ ศรัทธาพุทธ (2557). เกมการศึกษาด้านการแพทย์ และ สุขภาพ. วารสารไทยเภสัชศาสตร์ และวิทยาการสุขภาพ, 9(2), 82-87.

มนัสนันท์ หัตถศักดิ์ และ รัชกร เวชวรนันท์ (2565) การพัฒนาบอร์ดเกมเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้การจัดการชั้นเรียนของนิสิตคณะศึกษา ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. วารสารมนุษยศาสตร์วิชาการ, 29(2), 106-126.

วรพล ยวงเงิน. (2564). เจตคติของนักศึกษาปริญญาตรีสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบังที่ มีต่อเกมกระดานแห่งทักษะการเรียนรู้ และนวัตกรรม. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี, 33(2), 58-75.

สุรวิทย์ อัสสพันธุ์, เอกวัจน์ เชาว์วิชารัตน์, นัยนา บูรณชาติ, และ ธารี จาปีรัตน์. (2562). การออกแบบเกมจำลองสถานการณ์เพื่อพัฒนาทักษะการเก็บรวบรวมข้อมูลและการวางแผนการรักษาทางทันตกรรมสำหรับนักศึกษาทันตแพทย์. วารสารพฤติกรรมศาสตร์เพื่อการพัฒนา, 11(2):38-57.

พระราชบัญญัติคุ้มครองซากดึกดำบรรพ์ พ.ศ. 2551. (2551, 11 กุมภาพันธ์). ราชกิจจานุเบกษา. เล่มที่ 125 ตอนที่ 32 ก.

ภาษาอังกฤษ

Allmon, W. D., Ross, R. M., Kissel, R. A., & Kendrick, D. C. (2012). Using museums to teach undergraduate paleontology and evolution. The Paleontological Society Special Publications, 12, 231-246.

Benton, M. J., Schouten, R., Drewitt, E. J. A., & Viegas, P. (2012). The Bristol Dinosaur Project. Proceedings of the Geologists’ Association, 123(1), 210–225. https://doi.org/10.1016/j.pgeola.2011.07.004

Buffetaut, E., & Suteethorn, V. (1998). Early Cretaceous dinosaurs from Thailand and their bearing on the early evolution and biogeographical history of some groups of Cretaceous dinosaurs. New Mexico Museum of Natural History and Science Bulletin, 14, 205-210.

Buffetaut, E., Suteethorn, V., Le Loeuff, J., Khansubha, S., Tong, H., & Wongko, K. (2005, November). The dinosaur fauna from the Khok Kruat formation (Early Cretaceous) of Thailand. In Proceedings of the International Conference on Geology, Geotechnology and Mineral Resources of Indochina (GEOINDO 2005). Khon Kaen University, Khon Kaen (pp. 575-581).

Cavin, L., Forey, P. L., & Lécuyer, C. (2007). Correlation between environment and Late Mesozoic ray-finned fish evolution. Palaeogeography, Palaeoclimatology, Palaeoecology, 245(3-4), 353-367. https://doi.org/10.1016/j.palaeo.2006.08.010

Cuny, G., Laojumpon, C., & Lauprasert, K. (2010). Fossil vertebrate remains from Kut Island (Gulf of Thailand, Early Cretaceous). Cretaceous Research, 31(4), 415-423. https://doi.org/10.1016/j.cretres.2010.05.007

Hartt, M., Hosseini, H., & Mostafapour, M. (2020). Game on: Exploring the effectiveness of game-based learning. Planning Practice & Research, 35(5), 589-604.

Khamha, S., Cuny, G., & Lauprasert, K. (2016). Revision of Isanodus paladeji (Elasmobranchii, Hybodontiformes) from the Lower Cretaceous of Thailand. PalZ, 90(3), 533-541.

Laojumpon, C., Suteethorn, V., Chanthasit, P., Lauprasert, K., & Suteethorn, S. (2017). New evidence of sauropod dinosaurs from the Early Jurassic period of Thailand. Acta Geologica Sinica‐English Edition, 91(4), 1169-1178.

Lepore, T. J., Lundgren, L., & Lawver, D. (2023). The impact of field experiences in paleontology on high school learners. Journal of Geoscience Education, 1-16. https://doi.org/10.1080/10899995.2023.2175525

Martindale, R. C., & Weiss, A. M. (2019). “Taphonomy: Dead and fossilized”: A new board game designed to teach college undergraduate students about the process of fossilization. Journal of Geoscience Education, 68(3), 265-285.

Norman, G. R., & Schmidt, H. G. (2000). Effectiveness of problem‐based learning curricula: Theory, practice and paper darts. Medical education, 34(9), 721-728.

Sadler-Smith, E. (2015). Wallas’ four-stage model of the creative process: More than meets the eye?. Creativity Research Journal, 27(4), 342-352.

Reuss, R. L., & Gardulski, A. F. (2001). An interactive game approach to learning in historical geology and paleontology. Journal of Geoscience Education, 49(2), 120-129.

Triboni, E., & Weber, G. (2018). MOL: Developing a European-style board game to teach organic chemistry. Journal of Chemical Education, 95(5), 791-803.

West, S. (2015). Education: How to win at evolution. Nature, 528(7581), 192. https://doi.org/10.1038/528192a

Zairi, I., Ben Dhiab, M., Mzoughi, K., & Ben Mrad, I. (2022). The Effect of Serious Games on Medical Students’ Motivation, Flow and Learning. Simulation & Gaming, 53(6), 581-601.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-06-30

How to Cite

จูงพันธ์ ช. (2024). การพัฒนาเกมกระดานเพื่อการศึกษาเรื่องทักษะการขุดค้น และอธิบายแหล่งซากดึกดำบรรพ์ของสัตว์มีกระดูกสันหลังในประเทศไทย. วารสารครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 52(2), EDUCU5202002 . https://doi.org/10.14456/educu.2024.19