การพัฒนาแบบวัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย ในรายวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โดยประยุกต์ใช้การประเมินแบบพลวัตด้วยคอมพิวเตอร์

ผู้แต่ง

  • ณณณ์ วรธนพิมกร สาขาวิชาวิธีวิทยาการพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา ภาควิชาวิจัยและจิตวิทยาการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • กมลวรรณ ตังธนกานนท์ สาขาวิชาวิธีวิทยาการพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา ภาควิชาวิจัยและจิตวิทยาการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

DOI:

https://doi.org/10.14456/educu.2024.18

คำสำคัญ:

การประเมินแบบพลวัตด้วยคอมพิวเตอร์, สื่อกลางแบบผสม, การคิดอย่างมีวิจารณญาณ

บทคัดย่อ

การวิจัยนำร่องนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาแบบวัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณโดยประยุกต์ใช้การประเมินแบบพลวัตด้วยคอมพิวเตอร์ในรายวิชาสังคมศึกษาฯ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย และ 2) เพื่อตรวจสอบคุณภาพของแบบวัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณโดยประยุกต์ใช้การประเมินแบบพลวัตด้วยคอมพิวเตอร์ในรายวิชาสังคมศึกษาฯ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย ตัวอย่างวิจัย คือ นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 100 คน โดยการคัดเลือกตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง เครื่องมือวิจัย คือ แบบวัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณโดยประยุกต์ใช้การประเมินแบบพลวัตด้วยคอมพิวเตอร์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา ตรวจสอบคุณภาพของแบบวัดรายข้อ คือความยากและอำนาจจำแนก และตรวจสอบคุณภาพของแบบวัดทั้งฉบับคือ ความเที่ยง ผลการวิจัยพบว่า 1) แบบวัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณด้วยคอมพิวเตอร์เป็นแบบทดสอบแบบเลือกตอบสองระดับรวม 20 ข้อ วัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณ 4 องค์ประกอบ ได้แก่ (1) การกำหนดปัญหา (2) การระบุสมมติฐานเพื่อแก้ปัญหาและการปรับใช้
(3) การจำแนกและตัดสินข้อมูล และ (4) การสรุปความ และ 2) ข้อคำถามทุกข้อและสื่อกลางแบบผสมมีความตรงตามเนื้อหา (ค่าดัชนี IOC อยู่ระหว่าง .8 ถึง 1.0 และ .6 ถึง 1.0 ตามลำดับ) ความยากและอำนาจจำแนกของข้อคำถามในแบบวัดมีค่า .45 ถึง .82 และ .41 ถึง .82 ตามลำดับ และค่าความเที่ยงของแบบวัดเท่ากับ .88

References

ภาษาไทย

กรมวิชาการ. (2540). การออกแบบและพัฒนาการวัดกระบวนการคิด. คุรุสภาลาดพร้าว.

ญาณิกา ลุนราศรี. (2563). การวัดการรู้เรื่องการอ่าน พัฒนาการและศักยภาพการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3: การประยุกต์แนวคิดการประเมินแบบพลวัตด้วยคอมพิวเตอร์ [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]. Chulalongkorn University Intellectual Repository (CUIR). http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/76657

บุญใจ ศรีสถิตนรากูร. (2555). การพัฒนาและตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย: คุณสมบัติการวัดเชิงจิตวิทยา. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วิเชษฐ์ แสงดวงดี. (2557). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนแบบผสมผสานด้วยแนวคิดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานและการคิดอย่างมีวิจารญาณเพื่อเสริมสร้างความสามารถในการตัดสินใจทางจริยธรรมในวิชาชีพวารสารศาสตร์ [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]. Chulalongkorn University Intellectual Repository (CUIR). http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45381

ศิริชัย กาญจนวาสี. (2556). ทฤษฎีการทดสอบแบบดั้งเดิม (พิมพ์ครั้งที่ 7). สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2551). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม. https://drive.google.com/file/d/0B9t56k6dmUe5Z202Wmw5S1dvOGM/view?resourcekey=0-5dzEmHF7yipsPKfkZShqjw

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2564). สมรรถนะคิดขั้นสูง.

https://drive.google.com/drive/folders/13jiasd1lle3kMHSiACIqBa7ClqqiiQK4

อรพิณ พัฒนผล. (2551). การพัฒนาแบบทดสอบวัดความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณสำหรับนักเรียนช่วงชั้นที่ 3 โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นการศึกษานครสวรรค์ เขต 1 [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ]. ThaiLIS sss Digital Collection Working Group (TDC). https://tdc.thailis.or.th/tdc/browse.php?option=show&browse_type=title&titleid=467081

ภาษาอังกฤษ

Cacchione, A. (2015). Creative use of Twitter for Dynamic Assessment in Language Learning classroom at the university. IxD&A, 24, 145-161. https://doi.org/10.55612/s-5002-024-009

Chang, C. Y., Yeh, T. K., & Barufaldi, J. P. (2010). The positive and negative effects of science concept tests on student conceptual understanding. International Journal of Science Education, 32(2), 265-282. https://doi.org/10.1080/09500690802650055

Clifford, J. S., Boufal, M. M., & Kurtz, J. E. (2004). Personality traits and critical thinking skills in college students: Empirical tests of a two-factor theory. Assessment, 11(2), 169-176. https://journals.sagepub.com/doi/pdf/10.1177/1073191104263250

Decaroli, J. (1973). What Research Say to the Classroom Teacher: Critical Thinking. Social education, 37(1), 67-69.

Dressel, P.L., & Mayhew, L.B. (1957) General Education: Explorations in Evaluation (2nd ed.). American Council on Education.

Ennis, R. H. (2005). Supplement to the test/manual entitled the Ennis-Weir critical thinking essay test. Urbana: Department of Educational Policy Studies, University of Illinois at Urbana–Champaign.

Gagne′, R. M. (1985) The Conditions of Learning and Theory of Instruction. CBS College Publishing.

Gliem, J. A., & Gliem, R. R. (2003). Calculating, Interpreting, and Reporting Cronbach’s Alpha Reliability Coefficient for Likert- Type Scales. Midwest Research to Practice Conference in Adult, Continuing, and Community Education Calculating, 14(C), 82–88. http://pioneer.chula.ac.th/~ppongsa/2900600/LMRM08.pdf

Gurel, D., Eryilmaz, A., & McDermott, L. (2015). A review and comparison of diagnostic instruments to identify students' misconceptions in science. Eurasia Journal of Mathematics Science and Technology Education, 11(5), 889-1008. https://doi.org/10.12973/eurasia.2015.1369a

Halpern, D. F. (2013). Thought and knowledge: An introduction to critical thinking (5th ed.). Psychology Press.

Kozulin, A., & Garb, E. (2002). Dynamic assessment of EFL text comprehension. School Psychology International, 23(1), 112-127. https://doi.org/10.1177/0143034302023001733

Lawshe, C. H. (1975). A quantitative approach to content validity. Personnel psychology, 28(4), 563-575. https://caepnet.org/~/media/Files/caep/knowledge-center/lawshe-content-validity.pdf

Lidz, C. S. (1995). Dynamic Assessment and the Legacy of L.S. Vygotsky. School Psychology International, 16(2), 143-153. https://doi.org/10.1177/0143034395162005

Lidz, C. S. (2003). Early childhood assessment. John Wiley & Sons.

http://ndl.ethernet.edu.et/bitstream/123456789/50260/1/Carol%20S.%20Lidz.pdf

Milenkovic, D. D., Segedinac, M. D., Hrin, T. N., & Horvat, S. (2016). The impact of instructional strategy based on the triplet model of content representation on elimination of students’ misconceptions regarding inorganic reactions. Journal of the Serbian Chemical Society, 81(6), 717-728.

https://www.shd-pub.org.rs/index.php/JSCS/article/view/984/216

Moseley, D., Baumfield, V., Elliott, J., Gregson, M., Higgins, S., Miller, J., & Newton, D. P. (2005). Frameworks for thinking: a handbook for teaching and learning. Cambridge University Press. https://dro.dur.ac.uk/1907/1/1907.pdf?DDD29+ded4ss

Nunnally, J. C. (1978). Psychometric theory (2nd ed.). McGraw-Hill.

Poehner, M. E., & Lantolf, J. P. (2005). Dynamic assessment in the language classroom. Language Teaching Research, 9(3), 233-265. https://doi.org/10.1191/1362168805lr166oa

Poehner, M. E., Zhang, J., & Lu, X. (2015). Computerized dynamic assessment (C-DA): Diagnosing L2 development according to learner responsiveness to mediation. Language Testing, 32(3), 337-357. https://doi.org/10.1177/0265532214560390

Polit, D. F., & Beck, C. T. (2006). The content validity index: are you sure you know what's being reported? Critique and recommendations. Research in nursing & health, 29(5), 489-497. https://onlinelibrary.wiley.com/doi/epdf/10.1002/nur.20147

Sternberg, R. J., & Halpern, D. F. (2020). Critical thinking in psychology. Cambridge University Press. http://psychnet.wustl.edu/memory/wp-content/uploads/2018/04/BC_Roediger-McCabe-2007-1.pdf

Tarricone, P. (2011). The taxonomy of metacognition. Psychology Press.

https://doi.org/10.4324/9780203830529

Taube, K. T. (1993). Critical thinking ability and disposition as factors of performance on a written critical thinking test [Doctoral dissertation]. ProQuest Dissertations and Theses database.

https://www.proquest.com/openview/2acf75dc570ac3a433bad550b8215828/1

Tzuriel, D. (2001). Dynamic assessment of young children. Kluwer Academic/Plenum Publishers. https://doi.org/10.1007/978-1-4615-1255-4

Viechtbauer, W., Smits, L., Kotz, D., Budé, L., Spigt, M., Serroyen, J., & Crutzen, R. (2015). A simple formula for the calculation of sample size in pilot studies. Journal of Clinical Epidemiology, 68(11), 1375- 1379. https://doi.org/10.1016/j.jclinepi.2015.04.014

Vygotsky, L., Piaget, J., & Kohlberg, L. (2006). The developmentalists. In H. Rom (Ed.), Key thinkers in psychology (pp. 25-44). Sage.

Watson, G., & Glaser, E.M. (1962). Watson-Glaser Critical Thinking Appraisal Manual: Form A and B. Harcout Brace and World Inc.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-06-30

How to Cite

วรธนพิมกร ณ., & ตังธนกานนท์ ก. (2024). การพัฒนาแบบวัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย ในรายวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โดยประยุกต์ใช้การประเมินแบบพลวัตด้วยคอมพิวเตอร์. วารสารครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 52(2), EDUCU5202001. https://doi.org/10.14456/educu.2024.18