อิทธิพลของภาวะผู้นำของผู้บริหารโรงเรียนที่มีต่อคุณภาพโรงเรียนขนาดเล็ก: การวิเคราะห์สมการโครงสร้างที่มีตัวแปรส่งผ่านหลายตัวแปร

ผู้แต่ง

  • Khomsun Junphengphen Udon Thani Rajabhat University
  • ผศ.ดร.พนายุทธ เชยบาล คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลับราชภัฎอุดรธานี
  • รองศาสตราจารย์ ดร.สมคิด สร้อยน้ำ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลับราชภัฎอุดรธานี

DOI:

https://doi.org/10.14456/educu.2023.35

คำสำคัญ:

โมเดลสมการโครงสร้าง, การวิเคราะห์อิทธิพลส่งผ่าน

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับคุณภาพและปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพโรงเรียน   ขนาดเล็ก 2) เพื่อศึกษาอิทธิพลของภาวะผู้นำของผู้บริหารโรงเรียนต่อคุณภาพโรงเรียนขนาดเล็ก โดยมีสภาพแวดล้อมภายในโรงเรียน คุณลักษณะของครู และการมีส่วนร่วมของชุมชนเป็นตัวแปรส่งผ่าน

ตัวอย่าง คือ ผู้อำนวยการโรงเรียนขนาดเล็ก จำนวน 544 คน กำหนดกลุ่มตัวอย่างด้วยการสุ่ม     อย่างง่าย วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติบรรยายโดยใช้โปรแกรม SPSS วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้างโดยใช้โปรแกรม Lisrel ผลการวิจัยพบว่า 1) คุณภาพโรงเรียนขนาดเล็ก และปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อคุณภาพโรงเรียนขนาดเล็ก โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก 2) โมเดลสมการโครงสร้างของคุณภาพโรงเรียนขนาดเล็ก มีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ ทั้งนี้ ภาวะผู้นำของผู้บริหารโรงเรียน คุณลักษณะของครู สภาพแวดล้อมในโรงเรียน และการมีส่วนร่วมของชุมชน มีอิทธิพลทางตรงต่อคุณภาพโรงเรียนขนาดเล็กอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ภาวะผู้นำของผู้บริหารโรงเรียนมีอิทธิพลทางอ้อมต่อคุณภาพโรงเรียนขนาดเล็ก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 กล่าวโดยสรุปได้ว่า ภาวะผู้นำของผู้บริหารโรงเรียนมีอิทธิพลรวมต่อคุณภาพโรงเรียนขนาดเล็กเท่ากับ 0.05

References

ภาษาไทย

กัญจนา สันฐาน. (2563). กลยุทธ์การบริหารโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็กในเขตพื้นที่ชนบท เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามจุดเน้นของนักเรียน. วารสารรัชต์ภาคย์, 14(32), 101.

กัญภร เอี่ยมพญา. (2565). โรงเรียนขนาดเล็ก: ปัญหาที่ต้องตัดสินใจ. วารสารสิรินธรปริทรรศน์, 23(1), 316.

นรรัชต์ ฝันเชียร. (2562, 24 มีนาคม). โรงเรียนขนาดเล็ก ภาระหรือโอกาส และรูปแบบการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็ก. ทรูปลูกปัญญา (trueplookpanya). ttps://www.trueplookpanya.com/education/

content/71918/-teaartedu-teaart-

นงลักษณ์ วิรัชชัย. (2542). การวิเคราะห์อภิมาน. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

บวรลักษณ์ ศักดิ์ไลพร. (2553). ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารแบบมีส่วนร่วมกับประสิทธิผลของงานวิชาการของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระบุรี เขต 1. [วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

บุญชม ศรีสะอาด. (2553). การวิจัยเบื้องต้น. (พิมพ์ครั้งที่ 5). สุวีริยาสาส์น.

พิมผกา ธรรมสิทธิ์. (2554). หลักการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์.

ไพฑูรย์ สินลารัตน์. (2553). ผู้นำเชิงสร้างสรรค์ และผลิตภาพ กระบวนทัศน์ใหม่และผู้นำใหม่ทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

มยุรี ด้วงศรี. (2558). ครูมืออาชีพยุคอาเซียน. วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ฯ, 2(1), 32-42.

เมธี ปิลันธนานนท์. (2555). สารานุกรมวิชาชีพครู เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา.

ยุทธ ไกยวรรณ์. (2549). สถิติเพื่อการวิจัย. (พิมพ์ครั้งที่ 2). ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพ.

ยลพรรษย์ ศิริรัตน์ และ มัทนา วังถนอมศักดิ์. (2562) ตัวบ่งชี้คุณภาพการศึกษาของโรงเรียนประถมศึกษา. วารสารการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร, 10(1), 488-510.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2565, 29 เมษายน). รายงานประจำปี 2564. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (OBEC). https://www.obec.go.th/archives/612358

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2562) มาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561. พิมพ์ครั้งที่ 1. บริษัท 21เซ็นจูรี่ จำกัด. https://cadt.dpu.ac.th/upload/content/files/มาตรฐานการศึกษาของชาติ%202561.pdf

อทิตยา ขาวคม. (2557). การมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาของผู้ปกครองโรงเรียนสิงห์สมุทร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18. [วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยบูรพา.

อนุพนธ์ โสมมีชัย. (2554). รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อคุณภาพโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. [วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี]. ฐานข้อมูลผลงานวิจัยทางการศึกษา. ttp://backoffice.thaiedresearch.org/uploads/

paper/2e630a3d17c29f0a0d64be3bee2efe26.pdf

อินทิรา บริบูรณ์. (2556). การจัดสภาพแวดล้อมโรงเรียนที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของนักเรียนเครือข่ายโรงเรียนนานาชาติเวลล์ส สังกัดสำนักบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน. [วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

อุทัย นกเผือก. (2554). แนวทางการพัฒนาการมีส่วนร่วมในการบริหารการศึกษาของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ของกลุ่มโรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย. [วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตร มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์]. วิทยานิพนธ์ออนไลน์มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ (THESISRRU). http://thesis.rru.ac.th/frontend/ view/468

ภาษาอังกฤษ

Blanford, S. (2006). Middle Leadership in schools. Pearson Longman.

Cheng. Y. C. & Tam W. M. (1997). Multi- Models of Quality in Education. In Quality Assurance

in Education west Yorkshire MCB University Press, 5(1), 22-31.

Hoy, K. W., & Miskel, G. C. (2005). Educational administration: Theory, research, and practice.

th ed. New York: McGraw-Hill.

Pefianco. (2009). 21st century skills: Learning for life in our times. Jossey-Bass.

Schneider, J. (2018). Building a better measure of school quality. MCIEA. http://mciea.org/ images/ PDF/Building_a_Better_Measure.pdf.

Strauss, L. (2010). 10 Skills critical to owning an outstanding future. http://www.successful-blog.com/1/10-critical-skills-of-highly-successful-21stcentury-leaders/.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-12-30

How to Cite

Junphengphen, K., เชยบาล พ. . . ., & สร้อยน้ำ ส. (2023). อิทธิพลของภาวะผู้นำของผู้บริหารโรงเรียนที่มีต่อคุณภาพโรงเรียนขนาดเล็ก: การวิเคราะห์สมการโครงสร้างที่มีตัวแปรส่งผ่านหลายตัวแปร. วารสารครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 51(4), EDUCU5104008. https://doi.org/10.14456/educu.2023.35