เรียนรู้สู่สร้างสรรค์ด้วยกิจกรรมดนตรีออนไลน์: การปรับตัวของผู้สอนรายวิชาออร์ฟระดับอุดมศึกษา

ผู้แต่ง

  • ธาวิน ไล้ทอง สาขาวิชาดนตรีศึกษา ภาควิชาศิลปะ ดนตรี และนาฏศิลป์ศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ดนีญา อุทัยสุข สาขาวิชาดนตรีศึกษา ภาควิชาศิลปะ ดนตรี และนาฏศิลป์ศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

DOI:

https://doi.org/10.14456/educu.2024.28

คำสำคัญ:

การสอนดนตรีตามแนวคิดออร์ฟ, การเรียนการสอนออนไลน์, การพัฒนาครูดนตรี, กิจกรรมดนตรี, เทคโนโลยีการศึกษา

บทคัดย่อ

การจัดการเรียนการสอนดนตรีตามแนวคิดออร์ฟในรูปแบบออนไลน์มีอุปสรรคและข้อจำกัดหลายประการผู้สอนจำเป็นต้องค้นหากลวิธีในการสอนรูปแบบใหม่เพื่อให้สามารถจัดการเรียนการสอนที่เหมาะสมและสอดคล้องกับรูปแบบออนไลน์อย่างเร่งด่วน งานวิจัยชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการปรับตัวของผู้สอนและวิเคราะห์กระบวนการเรียนรู้ของกิจกรรมออร์ฟในรูปแบบออนไลน์ ดำเนินการวิจัยด้วยระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพแบบกรณีศึกษา โดยเก็บข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์ผู้สอน และการสังเกตแบบมีส่วนร่วมในชั้นเรียนออนไลน์ตลอดทั้งภาคการศึกษารายวิชาออร์ฟ 1 สาขาวิชาดนตรีศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผลการวิจัยพบว่า 1) ผู้สอนต้องปรับตัวโดยเพิ่มทักษะที่จำเป็นในการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบออนไลน์ทั้งด้านกิจกรรมดนตรี ด้านการสอน และด้านเทคโนโลยี 2) กิจกรรมการเคลื่อนไหวสามารถจัดภายใต้ข้อจำกัดทางเทคโนโลยีในการเรียนการสอนรูปแบบออนไลน์ได้มากกว่าการร้องและการเล่นดนตรี และเน้นการอภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านการพูดคุยในชั้นเรียนเพื่อให้เกิดความเข้าใจในแนวคิดออร์ฟตรงตามวัตถุประสงค์ของรายวิชาเป็นการทดแทนกิจกรรมที่ขาดหายไป

References

ภาษาไทย

ชาย โพธิสิตา. (2565). ศาสตร์และศิลป์การวิจัยเชิงคุณภาพ: คู่มือนักศึกษาและนักวิจัยสังคมศาสตร์. อมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์ พับลิชชิ่ง.

ณรุทธ์ สุทธจิตต์. (2561). ดนตรีศึกษา: หลักการและสาระสําคัญ. สํานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ธวัชชัย นาควงษ์. (2542). การสอนดนตรีสำหรับเด็กตามแนวคิดของคาร์ล ออร์ฟ (Orff-Schulwerk). สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ภาควิชาศิลปะ ดนตรี และนาฏศิลป์ศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (2564). หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาดนตรีศึกษา.

ปิยะวรรณ ปานโต. (2563, 5 มิถุนายน). การจัดการเรียนการสอนของไทยภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19). หอสมุดรัฐสภา. https://library.parliament.go.th/th/radioscript/rr2563-jun5

สุภางค์ จันทวานิช. (2554). วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ (พิมพ์ครั้งที่ 10). สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ภาษาอังกฤษ

Burns, A. M. (2020). Using Technology with Elementary Music Approaches. Oxford University Press, Incorporated.

Creswell, J. W. (2007). Qualitative Inquiry and Research Design: Choosing Among Five Approaches. SAGE.

Creswell, J. W., & Creswell, J. D. (2018). Research Design: Qualitative, Quantitative, and Mixed Methods Approaches. SAGE.

Dorfman, J. (2022). Theory and practice of technology-based music instruction. Oxford University Press.

Frazee, J. (1977). Introduction to the American Orff-Schulwerk education. In H. Regner (Ed.), Music for Children (Orff-Schulwerk, American Edition, Volume 2, Primary). Schott Music Corp.

Johnson, D. (2017). How orff is your schulwerk? Musicworks: Journal of the Australian Council of Orff Schulwerk, 22, 9-14.

Kibici, V. B., & Sarikaya, M. (2021). Readiness levels of music teachers for online learning during the COVID 19 pandemic. International Journal of Technology in Education (IJTE), 4(3), 501-515.

Koutsoupidou, T. (2014). Online distance learning and music training: benefits, drawbacks and challenges. Open Learning, 29(3), 243-255.

Mark, M. L., & Madura, P. (2013). Contemporary Music Education. Cengage Learning.

Martínez Hernández, A. (2021). Online learning in higher music education: Benefits, challenges and drawbacks of one-to-one videoconference instrumental lessons. Journal of Music, Technology and Education, 13(2-3), 181-197.

McTighe, J., Wiggins, G. P., & Wiggins, G. (2004). Understanding by Design: Professional Development Workbook: Association for Supervision and Curriculum Development.

Mosterd, E. J. (2018). Using interactivity to improve online music pedagogy for undergraduate non-majors. In Pedagogy Development for Teaching Online Music (pp. 110-135).

Sever, G. (2021). Opinions of Teachers on the Implementation of the Orff-Schulwerk Approach in Online Lessons. International Online Journal of Educational Sciences, 4(13), 949-964.

Shamrock, M. (1995). Orff Schulwerk: Brief History, Description, and Issues in International Dispersal. American Orff-Schulwerk Association.

Wang, C., & Sogin, D. W. (2013). Orff-Schulwerk research: Where are we? In C. C. Wang & D. G. Springer (Eds.), Orff Schulwerk: Reflections and Directions. I A Pubns.

Yi, S., & Kim, K. (2023). Exploring Possibilities and Approaches for Utilizing SYNCROOM in Online Practical Music Classes. Korean Journal of Research in Music Education, 52(3), 53-74.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-06-30

How to Cite

ไล้ทอง ธ., & อุทัยสุข ด. (2024). เรียนรู้สู่สร้างสรรค์ด้วยกิจกรรมดนตรีออนไลน์: การปรับตัวของผู้สอนรายวิชาออร์ฟระดับอุดมศึกษา. วารสารครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 52(2), EDUCU5202011. https://doi.org/10.14456/educu.2024.28