ภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการใช้เทคโนโลยีในการจัดกาเรียนรู้ของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 1
คำสำคัญ:
ภาวะผู้นำดิจิทัล, เทคโนโลยี, การจัดการเรียนรู้บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา 2) ศึกษาการใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้ของครู และ 3) สร้างสมการพยากรณ์ภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้ของครู ตัวอย่าง คือ ครูจำนวน 285 คน วิเคราะห์ข้อมูลค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ การถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัย พบว่า 1) ภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา ภาพรวมอยู่ในระดับมาก 2) การใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้ของครู ภาพรวมอยู่ในระดับมาก และ 3) สมการพยากรณ์โดยใช้การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ พบว่า มีจำนวน 4 ตัวแปร ที่สามารถร่วมกันพยากรณ์ภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้ของครู ได้ร้อยละ 67.80 อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .001 ประกอบด้วย การสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (X2) การเป็นพลเมืองในยุคดิจิทัล (X4) ทักษะเทคโนโลยีดิจิทัล (X3) และการมีวิสัยทัศน์ดิจิทัล (X1) สามารถเขียนสมการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณในรูปคะแนนดิบ Ŷ = .936 + .273 (การสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล) + .194 (การเป็นพลเมืองในยุคดิจิทัล) + .167 (ทักษะเทคโนโลยีดิจิทัล) + .153 (การมีวิสัยทัศน์ดิจิทัล) และสามารถเขียนสมการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณในรูปคะแนนมาตรฐาน Ẑ = .305 (การสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล) + .230 (การเป็นพลเมืองในยุคดิจิทัล) + .215 (ทักษะเทคโนโลยีดิจิทัล) + .178 (การมีวิสัยทัศน์ดิจิทัล)
References
ภาษาไทย
กฤติภัทรกร ศิริภัทรนิธิโภคิน, จรัส อติวิทยาภรณ์, และ นิรันดร์ จุลทรัพย์. (2564, 25 มิถุนายน). การใช้เทคโนโลยีในการบริหารงานของผู้บริหารสถานศึกษา ในยุควิถีใหม่ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากระบี่ [Paper presentation], การประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติครั้งที่ 12, สงขลา, ประเทศไทย.
กันตชาติ กุดนอก. (2565). ภาวะผู้นําดิจิทัลของผู้บริหารที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต 2 [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร]. ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ (E-THESIS) SNRU. https://gsmis.snru.ac.th/ethesis/file_att1/2023012463421229134_fulltext.pdf
จำรัส มุ่งเฝ้ากลาง. (2567). ภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครราชสีมา. Interdisciplinary Academic and Research Journal, 4(1), 378-392. https://so03.tci-thaijo.org/index.php/IARJ/article/view/273286/182071.
จิรายุ เถาว์โท และ ยุภาดี ปณะราช. (2565). การวิเคราะห์องค์ประกอบภาวะผู้นําเชิงเทคโนโลยีในยุคดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากําแพงเพชร. วารสารมหาวิทยาลัยปทุมธานี, 14(2), 107–123. https://so05.tci-thaijo.org/index.php/ptujournal/article/view/261274/177005
จารุนันท์ ผิวผาง, ทัศนา ประสารตรี, และ สุมาลี ศรีพุทธรินทร. (2564). ภาวะผู้นำยุคดิจิทัลที่ส่งผลต่อการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการบริหารจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต 2. วารสารรัชต์ภาคย์, 15(39), 96–108. https://so05.tci-thaijo.org/index.php/RJPJ/article/view/249116/170036.
จุติณัฏฐ์ วงศ์ชวลิต. (2567). รูปแบบการใช้เทคโนโลยีในกระบวนการเรียนรู้นาฏศิลป์ดนตรี วิทยาลัยนาฏศิลปเชียงใหม่. วารสารพัฒนศิลป์วิชาการ, 8(1), 107–123. https://so05.tci-thaijo.org/index.php/Patanasilpa/article/view/271319.
จุฬาลักษณ์ พรหมอุบล, กุลชลี จงเจริญ, และ สุทธิวรรณ ตันติรจนาวงศ์. (2565). อิทธิพลของภาวะผู้นำเชิงเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษาที่มีผลต่อความสามารถในการใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอนของครูในโรงเรียนจังหวัดสุราษฎร์ธานี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา สุราษฎร์ธานี ชุมพร. วารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม, 19(1), 190-206. https://so06.tci-thaijo.org/index.php/edu-rmu/article/view/256504/172617
เจษฎา ชวนะไพศาล. (2563). แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษา กลุ่มสหวิทยาเขตทวารวดีสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุพรรณบุรี [วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร]. Dspace at Silapakorn University. http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/3304/1/61252310.pdf
ชาญชัย ประพาน, สุภาวดี วงษ์สกุล, และ ตวงทอง นุกุลกิจ. (2567). ภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการจัดการเรียนการสอนของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาปทุมธานี. วารสารสถาบันวิจัยพิมลธรรม, 11(2), 19–36. https://so06.tci-thaijo.org/index.php/prij/article/view/275245/184574.
ณัฐิกานต์ ปังศรีวงศ์. (2563). การพัฒนาทักษะด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการจัด การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของครูโรงเรียนตลาดหนองหวาย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 2. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี]. Education Administration: Independent Study (IS). http://ir.sru.ac.th/handle/123456789/828
ทินกร บัวชู และ ทิพภาพร บัวชู. (2562). ภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา. วารสารครุศาสตร์สาร, 13(2), 285–294. https://edujournal.bsru.ac.th/publishes/12/articles/245
ธีระพงษ์ แก้วฝ่าย, ธวัชชัย ไพใหล, และ ชรินดา พิมพบุตร (2563). การพัฒนาศักยภาพครูในการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อการจัดการเรียนรู้ โรงเรียนบ้านนาฮี สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 3. วารสารการบริหารการศึกษาและภาวะผู้นำ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, 8(31), 292-304. https://jeal.snru.ac.th/ArticleViewFile?ArticleID=789&FileArticle=789ArticleTextFile-20200715104732.pdf
บุษบา เสนีย์, เสาวณีย์ สิกขาบัณฑิต, และ ขวัญหญิง ศรีประเสริฐภาพ. (2562). รูปแบบการบริหารการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศของสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร.วารสารวิชาการศึกษาศาสตร์ศรีนครินทรวิโรฒ, 20(2), 27-40. https://ejournals.swu.ac.th/index.php/jedu/article/view/12162/10138
ปฐิมาวดี สีหาบุญจันทร์. (2566). ภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษ ที่ 21 ของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาปทุมธานี. วารสารมหาจุฬาวิชาการ, 10(3), 346-362. https://so04.tci-thaijo.org/index.php/JMA/article/view/268450
ประกาศ เรื่อง นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (2562, 11 เมษายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 136 ตอนที่ 47 ก. หน้า 1-71.
พันธยุทธ ทัศระเบียบ, อรุณ จุติผล, และ วันฉัตร ทิพย์มาศ. (2562). การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการเรียนรู้ของครูโรงเรียนเอกชน สอนศาสนาอิสลาม ในจังหวัดนครศรีธรรมราช. วารสารนาคบุตรปริทรรศน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช, 11(1), 127-140. https://so04.tci-thaijo.org/index.php/nakboot/article/view/184311/129860
มนัสพงษ์ เก่งฉลาด และ สมศักดิ์ เอี่ยมคงสี. (2566). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำยุคดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษากับสมรรถนะหลักของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรงุเทพมหานคร เขต 1. วารสารบริหารการศึกษา มศว, 20(38), 74-84. https://ejournals.swu.ac.th/index.php/EAJ/article/view/15614/12548
รัตนาวดี เที่ยงตรง และ ฉลอง ชาตรูประชีวิน. (2565). การศึกษาการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนรู้ของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุโขทัย เขต 2. Journal of Roi Kaensarn Academi, 7(8), 404-418. https://so02.tci-thaijo.org/index.php/JRKSA/article/view/255547/173324
ศุภกฤต ดิษฐสุวรรณ. (2566). รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการจัดการเรียนรู้ของครู เพื่อยกระดับคุณภาพผู้เรียน โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการสุวรรณภูมิ. Journal of Roi Kaensarn Academi, 8(3), 194-214. https://so02.tci-thaijo.org/index.php/JRKSA/article/view/258570/175462
สงกรานต์ รัตนแสงศร. (2563). การพัฒนาทักษะการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศของครูผู้สอน โรงเรียนบ้านนาวิทยาคม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยม เขต 11 จังหวัดสุราษฎร์ธานี [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี]. SRU Intellectual Repository. http://ir.sru.ac.th/handle/123456789/825
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 1. (2566). แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567. https://www.ska1.go.th/files/com_content/2023-12/20231227_upnxhoua.pdf
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. (2565). แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน (พ.ศ. 2566-2570) ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. สำนักงานนโยบายและแผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน. http://www.bopp.go.th/?p=2404
สุธาสินี สุริยา, สุรศักดิ์ ศรีกระจ่าง, และ ประกาศิต อานุภาพแสนยากร. (2565). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นําดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษากับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2. วารสารบัณฑิตวิทยาลัย พิชญาทรรศน์, 17(1), 31-41. https://so02.tci-thaijo.org/index.php/Pitchayatat/article/view/250281/172181
ภาษาอังกฤษ
Alajmi, M. K. (2022). The impact of digital leadership on teachers’ technology integration during the covid-19 pandemic in Kuwait. International Journal of Educational Research, 2022(112), 101928. https://pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/35153373/
Krejcie, R. V., & Morgan, D. W. (1970). Determining sample size for research activities. Educational and Psychological Measurement, 30(3), 607-610. https://doi.org/10.1177/001316447003000308
Sağbaş, M., & Erdoğan, F. A. (2022). Digital leadership: A systematic conceptual literature review. Istanbul Kent Üniversitesi İnsan ve Toplum Bilimleri Dergisi, 3(1), 17-35. https://dergipark.org.tr/en/pub/itbfkent/issue/68585/1024253
Sheninger, E. (2019). Digital leadership: Changing paradigms for changing times (2nd ed.). Corwin.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.