ความรู้ทางคณิตศาสตร์สำหรับการสอน : องค์ประกอบและแนวทางการประเมิน

ผู้แต่ง

  • ศันสนีย์ เณรเทียน คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • จงกล ทำสวน คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

DOI:

https://doi.org/10.14456/educu.2023.4

คำสำคัญ:

ความรู้ทางคณิตศาสตร์สำหรับการสอน, ความรู้ทางคณิตศาสตร์, ความรู้ในเนื้อหาผสานวิธีสอน, การประเมินครู

บทคัดย่อ

ความรู้ทางคณิตศาสตร์สำหรับการสอน เป็นความรู้ทางคณิตศาสตร์ที่ใช้ในงานที่เกี่ยวกับการสอน ในบทความนี้จะนำเสนอองค์ประกอบของความรู้ทางคณิตศาสตร์สำหรับการสอน คือ ความรู้ด้านเนื้อหา ความรู้เฉพาะด้านเนื้อหา ความรู้ด้านเนื้อหาในแนวราบ ความรู้เกี่ยวกับเนื้อหาและนักเรียน ความรู้เกี่ยวกับเนื้อหาและการสอน และความรู้เกี่ยวกับเนื้อหาและหลักสูตร ซึ่งจะนำเสนอความหมาย ลักษณะสำคัญของความรู้ และตัวอย่าง ในส่วนของความรู้เฉพาะด้านเนื้อหาที่เป็นความรู้และทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ที่มีลักษณะเฉพาะสำหรับการสอน จะนำเสนอในลักษณะพฤติกรรมที่ครูแสดงออกผ่านการอธิบายความรู้ทางคณิตศาสตร์ทั้งความรู้เชิงมโนทัศน์และเชิงกระบวนการ การเลือกใช้ตัวแทนความคิดทางคณิตศาสตร์ และการตัดสินความถูกต้องและสมเหตุสมผลของงานทางคณิตศาสตร์ นอกจากนี้ในบทความจะนำเสนอตัวอย่างของคำถามที่ใช้ในการประเมินความรู้ทางคณิตศาสตร์สำหรับการสอนจำแนก
ตามองค์ประกอบ ซึ่งครูและนักการศึกษาสามารถนำคำถามไปใช้เป็นแนวทางในการประเมินคุณภาพครูคณิตศาสตร์ ตลอดจนการพัฒนาและเตรียมความพร้อมของนักศึกษาครู

References

รายการอ้างอิง

ภาษาไทย

ข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2562. (2563, 7 พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา.

เล่มที่ 137 ตอนพิเศษ 109 ง. หน้า 10 - 14.

ภาษาอังกฤษ

Ball, D. L., & Bass, H. (2003). Toward a practice-based theory of mathematical knowledge for

teaching. In B. Davis & E. Simmt (Eds.), Proceedings of the 2002 Annual Meeting of

the Canadian Mathematics Education Study Group (pp. 3-14).

Ball, D. L., Thames, M. H., & Phelps, G. (2008). Content knowledge for teaching: What makes it

special?. Journal of Teacher Education, 59, 389 – 407.

Chua, V. G. (2020). A meta-synthesis of studies on deficiencies and affordances in

mathematical knowledge for teaching. Araneta Research Journal (Indagatio), 43, 15 - 21.

Ding, M. (2016). Developing preservice elementary teachers’ specialized content knowledge:

The case of associative property. International Journal of STEM Education, 3(1), 1 - 19.

Hill, H.C., Rowan, B., & Ball, D.L. (2005). Effects of teachers’ mathematical knowledge for

teaching on student achievement. American Educational Research Journal, 42(2), 371 -

Hill, H. C., Blunk, M. L., Charalambous, C. Y., Lewis, J. M., Phelps, G. C., Sleep, L., & Ball, D. L.

(2008). Mathematical knowledge for teaching and the mathematical quality of

instruction: An exploratory study. Cognition and Instruction, 26(4), 430 - 511.

Lai, M. Y., & Clark, J. (2018). Extending the notion of specialized content knowledge:

Proposing constructs for SCK. Mathematics Teacher Education and Development, 20(2),

- 95.

Mosvold, R., & Fauskanger, J. (2014). Teachers’ beliefs about mathematical horizon content

knowledge. International Journal for Mathematics Teaching and Learning, 9(3), 311 –

Petrou, M., & Goulding, M. (2011). Conceptualising teachers’ mathematical knowledge in

teaching. In Mathematical Knowledge in Teaching (pp. 9 - 25). Springer, Dordrecht.

Phelps, G., & Howell, H. (2016). Assessing mathematical knowledge for teaching: The role of

teaching context. The Mathematics Enthusiast, 13(1), 52 - 70 DOI:

https://doi.org/10.54870/1551-3440.1365

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-03-27

How to Cite

เณรเทียน ศ. ., & ทำสวน จ. (2023). ความรู้ทางคณิตศาสตร์สำหรับการสอน : องค์ประกอบและแนวทางการประเมิน. วารสารครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 51(1), EDUCU5101004. https://doi.org/10.14456/educu.2023.4