การพัฒนาหลักสูตรตามกรอบแนวคิดการบูรณาการความรู้ เทคโนโลยี ศาสตร์การสอนและเนื้อหา และทฤษฎีการเรียนรู้ของผู้ใหญ่ เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการใช้เทคโนโลยีในกิจกรรมการเรียนการสอนของนักศึกษาครูสังคมศึกษา

ผู้แต่ง

  • ศิริศักดิ์ ทิพย์ทวีชาญ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี
  • ธันวดี ดอนวิเศษ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี

DOI:

https://doi.org/10.14456/educu.2022.19

คำสำคัญ:

หลักสูตร, นักศึกษาครูสังคมศึกษา, ทีแพค, การเรียนรู้ของผู้ใหญ่

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาหลักสูตรตามกรอบแนวคิดการบูรณาการความรู้ เทคโนโลยี ศาสตร์การสอนและเนื้อหาและทฤษฎีการเรียนรู้ของผู้ใหญ่ 2) เพื่อประเมินคุณภาพของหลักสูตรที่พัฒนาขึ้น วิธีการดำเนินการวิจัยเป็นการวิจัยประยุกต์ กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาครู สาขาวิชาสังคมศึกษา ชั้นปีที่ 3 คณะครุศาสตร์ จังหวัดจันทบุรี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 29 คน ใช้วิธีการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แบบวัดความสามารถในการใช้เทคโนโลยีในกิจกรรมการเรียนการสอนและ 2) แบบประเมินความพึงพอใจ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบที ผลการวิจัยพบว่า 1) หลักสูตรที่พัฒนาขึ้นมีหลักการ จุดมุ่งหมาย และแนวทางการจัดการเรียนการสอนที่เป็นไปตามทฤษฎีการเรียนรู้ของผู้ใหญ่ ซึ่งโครงสร้างเนื้อหาของหลักสูตรจะเป็นไปตามกรอบแนวคิดทีแพคและผลการประเมินหลักสูตรเท่ากับ 0.90 2) คุณภาพของหลักสูตรที่พัฒนาขึ้น พบว่า (1) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีในกิจกรรมการเรียนการสอนของกลุ่มตัวอย่างที่เป็นนักศึกษาครูสังคมศึกษาหลังการทดลองสูงขึ้นกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (2) กลุ่มตัวอย่างที่เข้ารับการอบรมมีความพึงพอใจทั้งในด้านหลักสูตรการฝึกอบรม ด้านการจัดกิจกรรมการฝึกอบรม และด้านการบริหารจัดการฝึกอบรมอยู่ในระดับมากที่สุด ซึ่งด้านผลผลิตอยู่ในระดับมาก

Author Biographies

ศิริศักดิ์ ทิพย์ทวีชาญ, มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี

อาจารย์ประจำสาขาวิชาสังคมศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี

ธันวดี ดอนวิเศษ, มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี

อาจารย์ประจำสาขาวิชาสังคมศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี

References

ภาษาไทย

จันทวรรณ ปิยะวัฒน์. (2558, 4 ตุลาคม). ปัญหาทางเทคโนโลยีการศึกษา. GotoKnow. https://www.gotoknow.org/posts/510530.

ธนาสิทธิ์ เพิ่มเพียร. (2563, 16 กุมภาพันธ์). Adult learning [Video]. Youtube. https://www.youtube.com/watch?v=Y3Xg6JCvtxE.

วาเลน ดุลยากร. (2560). การพัฒนารูปแบบวิดีทัศน์สะท้อนคิดออนไลน์ในกระบวนการพัฒนาบทเรียนร่วมกันตามกรอบแนวคิดทีแพคเพื่อส่งเสริมความสามารถการบูรณาการไอซีทีในการสอน [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]. Chulalongkorn University Intellectual Repository (CUIR). http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/59580.

ศุภวดี มีเพียง. (2559). การพัฒนารูปแบบการฝึกอบรมตามแนวคิดการเรียนรู้ของผู้ใหญ่และการเรียนรู้โดยการรับใช้สังคม เพื่อเสริมสร้างจิตสำนึกสาธารณะสำหรับทหารกองประจำการกองทัพไทย [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]. Chulalongkorn University Intellectual Repository (CUIR). http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52144.

สันถวี นิยมทรัพย์. (2555). การวิจัยและพัฒนาหลักสูตรตามกรอบแนวคิดแบบเน้นกระบวนการเรียนรู้และการบูรณาการความรู้ เทคโนโลยี ศาสตร์การสอนและเนื้อหาเพื่อเสริมสมรรถนะการสร้างบทเรียนดิจิทัลสำหรับครูสังคมศึกษา [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]. Chulalongkorn University Intellectual Repository (CUIR). http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42266.

สุนิสา แพรภัทรประสิทธิ์. (2555, 11 ธันวาคม). เครื่องมือการเรียนรู้ของผู้ใหญ่. https://www.gotoknow.org/posts/258875

ภาษาอังกฤษ

Amelan, R. (2020, 6 August). UN secretary-general warns of education catastrophe, pointing to UNESCO estimate of 24 million learners at risk of dropping out. https://en.unesco.org/news/secretary-general-warns-education-catastrophe-pointing-unesco-estimate-24-million-learners-0.

Alsofyani, M. M., Aris, B., & Eynon, R. (2013). A preliminary evaluation of a short online training workshop for TPACK development. International Journal of Teaching and Learning in Higher Education, 25(1), 118-128.

Drexel University School of Education. (2000). How to use technology in the classroom: Benefits & effects. https://drexel.edu/soe/resources/student-teaching/advice/how-to-use-technology-in-the-classroom/.

Erdogan, E., & Serefli, B. (2021). Use of technology in social studies teaching: the journey of five teachers. Journal of Qualitative Research in Education, 27, 232-256.

Frey, B. A., & Alman, S. W. (2003). Applying adult learning theory to the online classroom. New Horizons in Adult Education and Human Resource Development, 17(1), 4-12.

Hicks, D., Lee, J., Berson, M., Bolick, C., & Diem, R. (2014). Guidelines for using technology to prepare social studies teachers. Contemporary Issues in Technology and Teacher Education, 14(4), 433-450.

Hong, J. E., & Stonier, F. (2015). GIS in-service teacher training based on TPACK. Journal of Geography, 114(3), 108-117.

Janssen, L. (2022). How covid-19 exposed challenges for technology in education. https://www.gstic.org/expert-story/how-covid-19-has-exposed-the-challenges-for-technology-in-education/.

Koehler, M., & Mishra, P. (2009). What is technological pedagogical content knowledge (TPACK)?. Contemporary issues in technology and teacher education, 9(1), 60-70.

Kopcha, T. J. (2012). Teachers' perceptions of the barriers to technology integration and practices with technology under situated professional development. Computers & Education, 59(4), 1109-1121.

Levin, T., & Wadmany, R. (2008). Teachers’ views on factors affecting effective integration of information technology in the classroom: Developmental scenery. Journal of Technology and Teacher Education, 16(2), 233-263.

Mason, C., Berson, M., Diem, R., Hicks, D., Lee, J., & Dralle, T.(2000). Guidelines for using technology to prepare social studies teachers. Contemporary issues in technology and teacher education, 1(1), 107-116.

McNeil, H. P., Hughes, C. S., Toohey, S. M., & Dowton, S. B. (2006). An innovative outcomes-based medical education program built on adult learning principles. Medical teacher, 28(6), 527-534.

McQuiggan, C. A. (2007). The role of faculty development in online teaching’s potential to question teaching beliefs and assumptions. Online Journal of Distance Learning Administration, 10(3), 1-13.

Mishra, P., & Koehler, M. J. (2006). Technological pedagogical content knowledge: A framework for teacher knowledge. Teachers college record, 108(6), 1017-1054.

National Council for the Social Studies. (1994). Expectations of excellence: Curriculum standards for social studies. NCSS.

Schleicher, A. (2020, 2 April). Lessons from the covid-19 crisis: education disrupted – education rebuilt. https://www.neweurope.eu/article/lessons-from-the-covid-19-crisis-education-disrupted-education-rebuilt/.

Shriner, M., Clark, D. A., Nail, M., Schlee, B. M., & Libler, R. (2010). Social studies instruction: Changing teacher confidence in classrooms enhanced by technology. The Social Studies, 101(2), 37-45.

Tarman, B., Kilinc, E., & Aydin, H. (2019). Barriers to the effective use of technology integration in social studies education. Contemporary Issues in Technology and Teacher Education, 19(4), 736-753.

Taylor, J. A., & Duran, M. (2006). Teaching social studies with technology: New research on collaborative approaches. The History Teacher, 40(1), 9-25.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-06-23

How to Cite

ทิพย์ทวีชาญ ศ., & ดอนวิเศษ ธ. (2022). การพัฒนาหลักสูตรตามกรอบแนวคิดการบูรณาการความรู้ เทคโนโลยี ศาสตร์การสอนและเนื้อหา และทฤษฎีการเรียนรู้ของผู้ใหญ่ เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการใช้เทคโนโลยีในกิจกรรมการเรียนการสอนของนักศึกษาครูสังคมศึกษา. วารสารครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 50(2), EDUCU5002008. https://doi.org/10.14456/educu.2022.19