การศึกษาเปรียบเทียบผลการเรียนขับรอง ของนักเรียนชั้นประถมปที่ 6 ระหวางกลุมที่ใชวิธีสอน ซึ่งปรับปรุงจากวิธีสอนดนตรีแบบโคดายกับกลุมที่ใชวิธีสอนปกติ โรงเรียนราชประชานุเคราะห 50 จังหวัดขอนแกน

Main Article Content

สุธาสินี ถีระพันธ, คมกริช การินทร, พล คัมปงสุ

Abstract

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค เพื่อศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติของนักเรียนที่เรียนโดยการ จัดกิจกรรมการเรียนรูแบบโคดายและแบบปกติ กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยครั้งนี้เปนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียน ราชประชานุเคราะห 50 จังหวัดขอนแกน จํานวน 46 คน ซึ่งไดมาจากการเลือกสุม (Random Sampling) โดยแบงออกเปน 2 กลุมคือ กลุมควบคุม 23 คน และกลุมทดลอง 23 คน เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ไดแก แผนการจัดการสอนแบบโคดาย 4 แผน และแผนการจัดการเรียนรูแบบปกติ 4 แผน รวมทั้งหมด 8 แผน ทําการสอนแผนละ 2 ชั่วโมง รวมจํานวน 16 ชั่วโมง แบบทดสอบ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนชนิดปรนัยจํานวน 30 ขอ และแบบวัดเจตคติ สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล ไดแก คาเฉลี่ย (Mean) รอยละ (Percentage) สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และการทดสอบสมมุติฐานดวย Paired t–test

จากผลการวิจัยพบวา 1) แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูแบบโคดาย กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ (ดนตรี) วิชาขับรอง ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 มีประสิทธิภาพเทากับ 82.24/84.35 ตามลําดับ ซึ่งเปนไปตามเกณฑที่ตั้งไว 80/80 ตามลําดับ 2) นักเรียน ที่เรียนดวยการจัดกิจกรรมการเรียนรูแบบโคดายและแบบปกติ วิชาขับรองชั้นประถมศึกษาปที่ 6 มีคาเฉลี่ยเจตคติทางการเรียน ของนักเรียนหลังเรียนสูงกวากอนเรียน แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน สูงกวากอนเรียน แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) นักเรียนที่เรียนดวยการจัดกิจกรรมการเรียนรู แบบโคดายมีคาเฉลี่ยโดยรวมหลังเรียน ดานเจตคติทางการเรียนสูงกวานักเรียนที่เรียนโดยการจัดกิจกรรมการเรียนรูแบบปกติ แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญที่ระดับ .05 และนักเรียนที่เรียนโดยการจัดกิจกรรมการเรียนรูแบบโคดายมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลังเรียนสูงกวานักเรียนที่เรียนดวยการจัดกิจกรรมการเรียนรูแบบปกติ แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

โดยสรุป การจัดกิจกรรมการสอนแบบโคดาย มีประสิทธิภาพมากกวาการจัดกิจกรรมการสอนแบบปกติ ชวยใหมีเจตคติ ทางการเรียน และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น จึงควรสงเสริมสนับสนุนใหครูผูสอนวิชาขับรอง นําไปใชในการจัดการเรียน การสอน เพื่อใหผูเรียนบรรลุผลตามจุดประสงคของรายวิชาตอไป

Article Details

How to Cite
[1]
พล คัมปงสุ ส. ถ. ค. ก., “การศึกษาเปรียบเทียบผลการเรียนขับรอง ของนักเรียนชั้นประถมปที่ 6 ระหวางกลุมที่ใชวิธีสอน ซึ่งปรับปรุงจากวิธีสอนดนตรีแบบโคดายกับกลุมที่ใชวิธีสอนปกติ โรงเรียนราชประชานุเคราะห 50 จังหวัดขอนแกน”, EDGKKUJ, vol. 10, no. 5, pp. 154–160, Jun. 2017.
Section
บทความวิจัย (Research article)
Author Biography

สุธาสินี ถีระพันธ, คมกริช การินทร, พล คัมปงสุ, สาขาวิชาดนตรีศึกษา วิทยาลัยดุริยางคศิลป มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

สาขาวิชาดนตรีศึกษา วิทยาลัยดุริยางคศิลป มหาวิทยาลัยมหาสารคาม