ความสุขในการทํางานของขาราชการสายผูสอน มหาวิทยาลัยขอนแกน

Main Article Content

ปยดา ปจเจกวิญูสกุล, สุวรี ฤกษจารี

Abstract

การวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงสํารวจ (Survey Research) มีวัตถุประสงคเพื่อ 1) ศึกษาความสุขในการทํางาน ของขาราชการสายผูสอน มหาวิทยาลัยขอนแกน และ 2) เปรียบเทียบความสุขในการทํางาน กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย คือ ขาราชการสายผูสอนระดับอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแกน จํานวน 203 คน ไดจากการสุมแบบแบงชั้นโดยใชคณะวิชา 16 คณะเปนเกณฑในการแบงจํานวนกลุมตัวอยาง เครื่องมือที่ใชเปนแบบสอบถามเกี่ยวกับความสุขในการทํางานมีคา ความเชื่อมั่น 0.96 คาอํานาจจําแนก 0.25-0.79 วิเคราะหขอมูลโดยใชสถิติเชิงพรรณนาและเปรียบเทียบความแตกตางระหวาง คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานโดยใชสถิติ t-test (Independent-Samples t-test) และ F-test (One-way ANOVA) และ การเปรียบเทียบทดสอบความแตกตางคาเฉลี่ยรายคูดวยวิธีของ LSD (Least Significant Difference)

ผลการวิจัย พบวา

1. ขาราชการสายผูสอน มีความสุขในการทํางานภาพรวมอยูในระดับมากทุกดาน โดยเรียงจากมากไปหานอย ไดแก ดานความสัมพันธ ดานความกระตือรือรนในการทํางาน ดานความสําเร็จในงาน ดานการเปนที่ยอมรับ ดานความรักในงาน และ ดานอิทธิพลของการทํางานตอความสุขในชีวิต ตามลําดับ

2. เมื่อเปรียบเทียบความสุขในการทํางานกับปจจัยสวนบุคคล พบวา ปจจัยสวนบุคคลที่แตกตางกัน ประกอบดวย อายุ สถานภาพ ตําแหนงทางวิชาการ อายุราชการ และรายได สงผลตอความสุขในการทํางานแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติที่ระดับ 0.05 สําหรับปจจัยสวนบุคคลดานเพศ และระดับการศึกษาไมสงผลตอระดับความสุขในการทํางาน ของขาราชการสายผูสอน

Article Details

How to Cite
[1]
สุวรี ฤกษจารี ป. ป., “ความสุขในการทํางานของขาราชการสายผูสอน มหาวิทยาลัยขอนแกน”, EDGKKUJ, vol. 10, no. 3, pp. 89–95, May 2017.
Section
บทความวิจัย (Research article)
Author Biography

ปยดา ปจเจกวิญูสกุล, สุวรี ฤกษจารี, สาขาวิชาจิตวิทยาการศึกษาและการใหคําปรึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

สาขาวิชาจิตวิทยาการศึกษาและการใหคําปรึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน