การพัฒนาความสามารถในการคิดวิเคราะหของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ตามแนวคิดดานจิตพิสัยของ BLOOM

Main Article Content

นันทรีย เคาโนนกอก, บัญชา เกียรติจรุงพันธ

Abstract

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาความสามารถในการคิดวิเคราะหของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ที่จัดกิจกรรมการ เรียนรูตามแนวคิดดานจิตพิสัยของ Bloom และศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการจัดกิจกรรมการเรียนรูตามแนวคิดดาน จิตพิสัยของ Bloom กลุมเปาหมายเปนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนแหลมทองผดุงวิทย จํานวน 25 คน ในภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2558 เปนการวิจัยโดยใชระเบียบวิธีวิจัยเชิงทดลองขั้นตน (Pre – Experimental Design) แบบ กลุมเดียวมีการทดสอบเฉพาะหลังเรียน (One – Shot Case Study) โดยกําหนดเกณฑการผานอยูที่รอยละ 70 เครื่องมือที่ใช ในการวิจัยไดแก (1) แผนการจัดการเรียนรูที่จัดกิจกรรมการเรียนรูตามแนวคิดวิเคราะหของ Bloom (2) แบบทดสอบวัด ความสามารถในการคิดวิเคราะห (3) แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการจัดกิจกรรมการเรียนรูตามแนวคิด ดานจิตพิสัยของBloom

ผลการวิจัยพบวา นักเรียนมีคะแนนความสามารถในการคิดวิเคราะหระหวางเรียน 60 คะแนน แบงไดดังนี้ คะแนนเก็บ ครั้งที่ 1 มีคาเฉลี่ยเทากับ 12.28 คิดเปนรอยละ 61.14 คะแนนเก็บครั้งที่ 2 มีคาเฉลี่ยเทากับ 14.00 คิดเปนรอยละ 70 มีคาเฉลี่ย เพิ่มขึ้นคิดเปนรอยละ 12.29 สวนคะแนนเก็บครั้งที่ 3 มีคาเฉลี่ยเทากับ 16.12 คิดเปนรอยละ 80.60 มีคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้น จากครั้งที่ 2 คิดเปนรอยละ 13.15 คะแนนความสามารถในการคิดวิเคราะหหลังเรียน 40 คะแนน นักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยเทากับ 33.24 คิดเปนรอยละ 83.30 เมื่อนําคะแนนทุกสวนมารวมกันพบวา นักเรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะหคิดเปนรอยละ 75.64 มีจํานวนนักเรียนที่ผานเกณฑ 21 คน คิดเปนรอยละ 84 ซึ่งถือวาผานเกณฑที่กําหนด ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอ การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามแนวคิดดานจิตพิสัยของ Bloom พบวาโดยเฉลี่ยทุกดาน นักเรียนมีความพึงพอใจระดับมาก

Article Details

How to Cite
[1]
บัญชา เกียรติจรุงพันธ น. เ., “การพัฒนาความสามารถในการคิดวิเคราะหของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ตามแนวคิดดานจิตพิสัยของ BLOOM”, EDGKKUJ, vol. 10, no. 3, pp. 47–52, May 2017.
Section
บทความวิจัย (Research article)
Author Biography

นันทรีย เคาโนนกอก, บัญชา เกียรติจรุงพันธ, สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน