การบริหารสถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาปฐมวัยสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เชียงราย เขต 3

Main Article Content

กิ่งกาญจน ไชยราช, ประจักษ สีหราช, พรภวิษย มนตรวัชรินทร

Abstract

การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค เพื่อศึกษาสภาพการบริหารสถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงรายเขต 3 ศึกษาปญหาการบริหารสถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษา ปฐมวัย และขอเสนอแนะการบริหารสถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาปฐมวัยที่เหมาะสม ประชากรที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ ประกอบดวย ไดแก ผูบริหารสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงรายเขต 3 ปการศึกษา 2556 จํานวน 133 คน เครื่องมือที่ใชในการรวบรวมขอมูล คือ แบบสอบถามการบริหารสถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงรายเขต 3 มี 3 ลักษณะ คือ แบบตรวจสอบรายการ แบบมาตราสวน ประมาณคา และแบบคําถามปลายเปด คาความเที่ยงตรง 0.98 และคาความเชื่อมั่น 0.94 สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล ประกอบดวย ความถี่ (Frequency) รอยละ (%) คาเฉลี่ย (µ) และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (σ)

ผลการวิจัย พบวา

1) สภาพการบริหารสถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เชียงราย เขต 3 โดยรวมการบริหารอยูในระดับมาก (µ = 4.39) เมื่อจําแนกเปนรายมาตรฐาน ทุกมาตรฐาน มีการบริหารอยูในระดับมาก เชนเดียวกัน มาตรฐานมีการคาเฉลี่ยมากที่สุด คือ มาตรฐานดานการจัดการศึกษา (µ = 4.45) รองลงมาคือ มาตรฐานดานมาตรการสงเสริม (µ = 4.44) มาตรฐานดานอัตลักษณของสถานศึกษา (µ = 4.41) และมาตรฐาน ดานการสรางสังคมแหงการเรียนรู (µ = 4.34) สวนมาตรฐานที่มีคาเฉลี่ยนอยที่สุดคือ มาตรฐานดานคุณภาพผูเรียน (µ = 4.31) ตามลําดับ

2) ปญหาการบริหารสถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เชียงราย เขต 3 ไดแก การขาดแคลนงบประมาณในการบริหารจัดการทั้งดานการจัดหาสื่อ การพัฒนาอาคารสถานที่ แหลงเรียน รูที่เอื้อตอการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและเอื้อตอการเรียนรูของผูเรียน อีกทั้งการขาดความรวมมือสนับสนุนจากชุมชน ผูปกครอง หนวยงานภาครัฐภาคเอกชนรวมทั้งหนวยงานตนสังกัด ปจจัยดานครูและบุคลากรทางการศึกษาสายปฐมวัย มีไมเพียงพอขาดความรูทักษะและประสบการณในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ขาดการใชสื่อรวมทั้งบุคลากรมีภาระงาน อื่นมากที่ไมเกี่ยวของกับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน

3) สถานศึกษาควรจัดหาครูบุคลากรทางการศึกษาดานการศึกษาปฐมวัยที่มีความรูความสามารถในการจัดกิจกรรม การเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ ลดภาระงานที่ไมเกี่ยวของกับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และสนับสนุน งบประมาณในการจัดหาสื่ออุปกรณการเรียนการสอนรวมทั้งพัฒนาแหลงเรียนรูทั้งหองเรียน อาคารสถานที่ใหเอื้อตอการจัดกิจกรรมเอื้อตอพัฒนาการการเรียนรูของนักเรียนปฐมวัย อีกทั้งประสานความรวมมือกับผูปกครอง ชุมชน หนวยงานภาครัฐ และเอกชนในการพัฒนาการจัดการศึกษาทั้งดานงบประมาณและองคความรูตาง ๆ รวมทั้งการจัดสรางเครือขายดานการศึกษา ปฐมวัยเพื่อเปนสังคมแหงการเรียนรูและกําหนดอัตลักษณเฉพาะตนที่มาจากการมีสวนรวมของทุกภาคสวน

Article Details

How to Cite
[1]
พรภวิษย มนตรวัชรินทร ก. ไ. ป. ส., “การบริหารสถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาปฐมวัยสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เชียงราย เขต 3”, EDGKKUJ, vol. 10, no. 2, pp. 1–7, May 2017.
Section
บทความวิจัย (Research article)
Author Biography

กิ่งกาญจน ไชยราช, ประจักษ สีหราช, พรภวิษย มนตรวัชรินทร, สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเชียงราย

สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเชียงราย