เครื่องมือสื่อสารการตลาดและคุณภาพความสัมพันธ์ของแฟนฟุตบอลสโมสรฟุตบอลไทยพรีเมียร์ลีก

Main Article Content

ณัฐวุฒิ จงกิตติพงศ์
นภวรรณ ตันติเวชกุล

Abstract

The objectives of this master thesis were (1) to study football fans' exposure to IMC tools of Thai Premier League football clubs (2) to study football fans' satisfaction to IMC tools of Thai Premier League football clubs (3) to study correlation between football fans' exposure and satisfaction towards IMC tools of Thai Premier League football clubs and (4) to study correlation between football fans' exposure to IMC tools of Thai Premier League football clubs and relationship quality. The research adopted the survey approach by using questionnaires. The research's sample consisted of a total of 400 football fans which were 200 Chonburi FC's fans and 200 SCG Muangthong United's fans.


The survey revealed that the representative groups were exposed to the club's IMC tools in moderate level. For Chonburi FC's fans satisfied club's IMC tools in high level, meanwhile SCG Muangthong United's fans had a moderate level of satisfaction towards IMC tools of their club. All representative groups showed highest levels of relationship quality between them and their clubs.


The results of the hypothesis testing were (1) in accordance with the hypothesis, fans' exposure to IMC tools correlated with satisfaction towards the club's IMC tools significant at the level of.01 and (2) fans’exposure towards the club's IMC tools correlated with fans' Relationship Quality, which was conformed to the hypothesis.

Article Details

Section
Articles
Author Biographies

ณัฐวุฒิ จงกิตติพงศ์

ณัฐวุฒิ จงกิตติพงศ์(นศ.ม. นิเทศศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555)

นภวรรณ ตันติเวชกุล, คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

นภวรรณ ตันติเวชกุล(นศ.ค.นิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย) ปัจจุบันดํารงตําแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ประจําภาควิชาการประชาสัมพันธ์ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

References

ภาษาไทย
กนกพร ตันติเสาวภาพ (2544). การวัดประสิทธิผลของการสื่อสารการตลาดแบบผสมผสานในธุรกิจบริการ. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตรพัฒนาการ ภาควิชาการประชาสัมพันธ์ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
กาญจนา เชี่ยววิทย์การ (2540), พฤติกรรมการเปิดรับข่าวสาร การรับรู้ประโยชน์ และความพึงพอใจในการสื่อสารระบบประชุมทางไกลผ่านจอภาพ. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตรพัฒนาการ สาขาวิชานิเทศศาสตร์พัฒนาการ ภาควิชาการประชาสัมพันธ์ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุลวิชญ์ สําแดงเดช (2551). การใช้สื่อเพื่อสร้างและธํารงอัตลักษณ์ของแฟนสโมสรฟุตบอลชลบุรี, วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสารมวลชน ภาควิชาการสื่อสารมวลชน คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
จีระศักดิ์ โจมทอง ผู้อํานวยการฝ่ายการตลาดและประชาสัมพันธ์ สโมสรชลบุรี เอฟซี. สัมภาษณ์, 13 กุมภาพันธ์ 2556.
ชื่นจิตต์ แจ้งเจนกิจ (2548). กลยุทธ์สื่อสารการตลาด กรุงเทพมหานคร: ยูเรก้า.
ฑิฆัมพร เอี่ยมเรไร. (2554). “เกาะติดสื่อกีฬาศึกษา” ในการสื่อสาร ศาสนา กีฬา, กาญจนา แก้วเทพ, บรรณาธิการ, กรุงเทพมหานคร: โครงการเมธีวิจัยอาวุโส คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ณัฐกร วิทิตานนท์, ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ และ อาจินต์ ทองอยู่คง (กรกฎาคม 2555). “ฟุตบอลไทย การเมืองของเกมใต้ตีน” พลังใหม่/ศาสนาใหม่/พื้นที่ใหม่?” นําเสนอที่ Book Republic. แหล่งที่มา http://bookrepublic.org/videos/clip-football/
ไทยรัฐออนไลน์, เผยผลสํารวจ “แมนยู ทีมบอลคนเชียร์มากสุดในโลก. (2555). [ออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.thairath.co.th/content/sport/264340
เนชั่นสุดสัปดาห์. สโมสรบอลไทยลีก ใต้อุปถัมภ์ “นักการเมือง?.(2554). [ออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.oknation.net/blog/nity/2011/05/24/entry-3
บริษัท ไทยพรีเมียร์ลีก จํากัด. ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับบริษัท ไทยพรีเมียร์ลีก จํากัด. (2555) [ออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.thaipremierleague.co.th/about.php
ผู้จัดการออนไลน์. ชลบุรี-เมืองทองฟีเวอร์ แฟนบอลแย่งซื้อตัวโกลาหล (2555) [ออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.manager.co.th/Local/ViewNews.aspx?NewsID=95500001039
พนิดา โก้วเจริญ. (2546). ประสิทธิผลของการสื่อสารการตลาดแบบผสมผสาน เพื่อสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้าในธุรกิจบริการ. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์พัฒนาการ ภาควิชาการประชาสัมพันธ์ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
รัชฎาภร ขวัญปัญญา. (2540) ความคาดหวังของผู้รับบริการ และความพึงพอใจในงานบริการจากการเปิดรับข่าวสารเชิงสัมพันธภาพของผู้ใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. สาขาวิชานิเทศศาสตรพัฒนาการ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วรตม์ โอนพรัตนวิบูล. (2553). ปัจจัยการสื่อสารกับการก่อตัวและการธํารงรักษากลุ่มแฟนคลับของสโมสรฟุตบอลในไทยพรีเมียร์ลีก วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตรพัฒนาการ สาขาวิชานิเทศศาสตร์พัฒนาการ ภาควิชาการประชาสัมพันธ์ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วิชัย เหลืองธรรมชาติ. (2531). ความพึงพอใจและการปรับตัวต่อสภาพแวดล้อมใหม่ของประชากรในหมู่บ้านอพยพโครงการเขื่อนรัชชประภา (เขื่อนเชี่ยวหลาน, จังหวัดสุราษฎร์ธานี) วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ศิริ ภู่พงษ์วัฒนา (2549). การจัดการช่องทางการตลาด กรุงเทพมหานคร: แสงดาว สมคิด เอนกทวีผล, สยามกีฬา ผงาด (2552). [ออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.positioningmag.com/magazine/ printnews.aspx?id=83586
สุกรี แมนชัยนิมิต. Localism จุดระเบิด “ชลบุรี เอฟซี” (2552) [ออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.positioningmag.com/magazine/details.aspx?id=83782

ภาษาอังกฤษ
Assael, H. (1998). Consumer behavior and marketing action. (6th ed.). Cincinnati, Ohio: South-Western College Publishing.
Belch, G.E. and Belch, M.A. (2009). Advertising and promotion and integrated marketing communications perspective (8thed.). Boston: McGraw-Hill.
Berry, L. (1983). Relationship marketing. Chicago: American Marketing Association.
Blakeman R. (2007). Integrated marketing communication: Creative strategy from idea to implementation. Maryland: Rowman & Littlefield.
Buhler A. and Nufer G. (2010) Relationship marketing in sports. Amsterdam: Elsevier. Cross, R. H. & Smith, J. (1995).Customer bonding: Pathway to lasting customer loyalty. Lincolnwood, Illinois: NTC Business Books.
Duncan, T.R. (2002). IMC: Using advertising and promotion to build brands. New York: McGraw-Hill.
Jablin, F. M., & Putnam, L. L. (2001). The New handbook of organizational communication: Advances in theory, research, and methods. Thousand Oaks: Sage Publications.
Kim Y.K. (2008). “Relationship framework in sport management: How relationship quality affects sport consumption behavior”. Doctoral Thesis, Health and Human Performance (Sport Management), Graduate School, University of Florida.
Kotler, P. (1994). Marketing management: Analysis, planning, implementation, and control. (8th ed). Singapore: Prentice-Hall.
Schultz, D.E., Tennenbaum, S. T., & Lauterborn, R. F., (1994). Integrated marketing communications. Chicago, IL: NTC Business Books.
Shimp T. A. (2000). Advertising & promotion: Supplemental aspect of integrated marketing communications. (54ed). FL: Dryden.
Sirgy, J. M. (1998). Integrated marketing communications: A system approach. Upper Saddle River, NJ: Prentice Hall.
Smith A. (2008). Introduction to sport marketing. Oxford: Butterworth-Heinemann.