การจัดทําชุดข้อมูลประกอบการเสนอข่าว : กรณีศึกษาหนังสือพิมพ์ออนไลน์ 3 ฉบับในประเทศอังกฤษ
Main Article Content
Abstract
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา วิธีการการจัดทําชุดข้อมูลประกอบการเสนอข่าวของหนังสือพิมพ์ ออนไลน์ในประเทศอังกฤษ โดยใช้หนังสือพิมพ์ออนไลน์เป็นกรณีศึกษา 3 ฉบับ ได้แก่ หนังสือพิมพ์ The Daily Telegraph หนังสือพิมพ์ The Star และหนังสือพิมพ์ The Metro โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัย เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์ผู้จัดทําหนังสือพิมพ์ออนไลน์ ด้วยคําถามสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
- หนังสือพิมพ์ออนไลน์เริ่มมีชุดข้อมูลประกอบการเสนอข่าวเมื่อช่วงปี พ.ศ. 2549-2550 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มมูลค่าให้แก่เนื้อหาเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้อ่าน
- ชุดข้อมูลประกอบการเสนอข่าวที่พบประกอบด้วยคลิปวิดีทัศน์ คลิปเสียง ชุดภาพถ่าย เว็บบอร์ดฟอรั่ม กลุ่มการพูดคุย สนทนาสด ฐานข้อมูลข่าว ตัวช่วยค้นหา อีเมลหาบรรณาธิการ จุดเชื่อมโยงไปยังข่าวเดิมหรือเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้อง
- วิธีการทำชุดข้อมูลประกอบการเสนอข่าวของแต่ละองค์กรไม่เหมือนกัน เช่น บางฉบับตัดต่อคลิปภาพและเสียงความยาวอยู่ระหว่าง 3-5 นาที บางองค์กรจะพิจารณาขึ้นอยู่กับคลิปนั้นๆ แต่บางองค์กรไม่ตัดต่อเลย
Article Details
Section
Articles
References
ภาษาไทย
กาญจนา กาญจนทวี. 2542. แรงจูงใจ พฤติกรรม และความพึงพอใจของผู้อ่านหนังสือพิมพ์ออนไลน์ไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต คณะนิเทศศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
กานตรี ปานสีทา. 2545. บทบาทของเว็บมาสเตอร์ในการนำเสนอเนื้อหาของหนังสือพิมพ์ออนไลน์. “วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต คณะนิเทศศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ศุภนิตย์ วงศ์ทางสวัสดิ์. 2549. แนวนโยบาย การจัดวาระข่าวสาร และกำหนดรูปแบบเนื้อหาในการเสนอข่าวของหนังสือพิมพ์ออนไลน์กับการใช้ความต้องการและความพึงพอใจของผู้อ่าน. งานวิจัยมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.
ภาษาอังกฤษ
Basketts, Floyd K., Scissors, Jack Z., and Brooks, Brian S. 1997. The Art of Editing. (Sixth edition). Needham Heights, Mass: Allyn & Bacon.
Carlson David. 2005. The News Media’s 30-Year Hibertion. Nieman Reports. Vol. 59 Issue 3. p.68-71.
F.J. Burkowski, Michael A. Sherpherd, C.R. Watters. 1994. Delivery of Electronic News: A Broadband Application. Conference of the Centre for Advanced Studies on Collaborative research.
Richard Craig. 2005. Online Journalism. Canada : Thomson Wadsworth.
Stillwell Don. 2006. The Future of Newspapers. American Journalism Review. Vol. 28, Issue 4
กาญจนา กาญจนทวี. 2542. แรงจูงใจ พฤติกรรม และความพึงพอใจของผู้อ่านหนังสือพิมพ์ออนไลน์ไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต คณะนิเทศศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
กานตรี ปานสีทา. 2545. บทบาทของเว็บมาสเตอร์ในการนำเสนอเนื้อหาของหนังสือพิมพ์ออนไลน์. “วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต คณะนิเทศศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ศุภนิตย์ วงศ์ทางสวัสดิ์. 2549. แนวนโยบาย การจัดวาระข่าวสาร และกำหนดรูปแบบเนื้อหาในการเสนอข่าวของหนังสือพิมพ์ออนไลน์กับการใช้ความต้องการและความพึงพอใจของผู้อ่าน. งานวิจัยมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.
ภาษาอังกฤษ
Basketts, Floyd K., Scissors, Jack Z., and Brooks, Brian S. 1997. The Art of Editing. (Sixth edition). Needham Heights, Mass: Allyn & Bacon.
Carlson David. 2005. The News Media’s 30-Year Hibertion. Nieman Reports. Vol. 59 Issue 3. p.68-71.
F.J. Burkowski, Michael A. Sherpherd, C.R. Watters. 1994. Delivery of Electronic News: A Broadband Application. Conference of the Centre for Advanced Studies on Collaborative research.
Richard Craig. 2005. Online Journalism. Canada : Thomson Wadsworth.
Stillwell Don. 2006. The Future of Newspapers. American Journalism Review. Vol. 28, Issue 4