กลยุทธ์การสื่อสารในการสอนคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต สำหรับผู้สูงอายุที่มีฐานะทางเศรษฐกิจและสังคมระดับกลาง

Main Article Content

ปรมาภรณ์ เกษียรสินธุ์
กาญจนา แก้วเทพ

Abstract

The objectives of this study aimed 1) to analyze factors related to instructional process in computer and internet training programs for the elderly, 2) to examine instructional communication strategies on computer and internet training programs for the elderly, and 3) to examine
attitudes of the elderly learners toward instructional process
in computer and internet training programs. By using qualitative research, groups of samplings from 3 different computer and internet training programs for the elderly in middle socio-economic status were studied by using of in-depth interview with 10 persons involving with the training programs (instructors), participating observation,
analyzing of documents related to instruction and interview of 17 elderly learners. The findings presented that there were factors related to instructional process in computer and internet training programs for the elderly in middle socio-economic status as follows 1) instructional objective
2) instructor 3) learner 4) content 5) instructional
methodology and media and 6) evaluation of instruction. Additionally, the study revealed some essential supportive components which are 1) the instructional atmosphere 2) classroom environment and availability of facilities and 3) the arrangement of the seating in computer classroom. The instructional communication strategies used for teaching computer and internet to the elderly in middle socio-economic status were divided into 4 types, which comprised of 1) sender strategies 2) receiver strategies
3) message strategies and 4) media strategies. Regarding of the attitudes of elderly learners, this study demonstrated
that there was an existence of positive attitudes toward
advantages of computer and learning capability before participating those training programs, so both attitudes did not change after training programs. Elderly learners also had negative attitudes toward difficulty of using computer and internet before training program, although the positive attitude was presented at the end of thetraining program eventually.

Article Details

Section
Articles
Author Biographies

ปรมาภรณ์ เกษียรสินธุ์

ปรมาภรณ์ เกษียรสินธุ์ (นศ.ม. นิเทศศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555) กาญจนา แก้วเทพ (Ph.D., Universite de Paris 7, 1984) ปัจจุบันดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์ประจำภาควิชาการสื่อสารมวลชน คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

กาญจนา แก้วเทพ, คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

กาญจนา แก้วเทพ (Ph.D., Universite de Paris 7, 1984) ปัจจุบันดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์ประจำภาควิชาการสื่อสารมวลชน คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

References

ภาษาไทย
กมลเนตร อยู่คงพัน. (2543) การรับรู้ ทัศนคติและพฤติกรรมการตัดสินใจถือบัตรเดบิต บัตรเครดิต และบัตรเอทีเอ็มของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาการโฆษณา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
กาญจนา แก้วเทพ, นันทกา สุธรรมประเสริฐ และเอกธิดา เสริมทอง. (2554). ผู้คนที่หลากหลายในการสื่อสาร : เด็ก สตรี และผู้สูงวัย. กรุงเทพมหานคร: โครงการเมธีวิจัยอาวุโส สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
กำจร หลุยยะพงศ์. (2553). การสื่อสารกับวาทกรรมอัตลักษณ์ผู้สูงอายุในสังคมไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
กิติมา สุรสนธิ. (2548). ความรู้ทางการสื่อสาร. กรุงเทพมหานคร: จามจุรีโปรดักท์.
กิติยาภรณ์ หิรัณยชาตรี. (2536). สภาพ ปัญหาและความต้องการในการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนสอนคอมพิวเตอร์เอกชนในกรุงเทพมหานคร ระหว่างปี พ.ศ. 2535-2536. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาโสตทัศนศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เกศินี จุฑาวิจิตร. (2542). การสื่อสารเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น. นครปฐม : สถาบันราชภัฏนครปฐม.
จันทนา จิรกาญจน์ไพศาล. (2545). ความพึงพอใจในการเข้าฝึกอบรมคอมพิวเตอร์ ศึกษากรณีผู้สูงอายุ. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี.
ฉัฏฐา ภะรตะศิลปิน. (2544). การใช้อินเทอร์เน็ตของผู้ที่เกิดก่อนยุคคอมพิวเตอร์. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสารมวลชน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ฉันทนา โหมดมณี. (2543). การนำเสนอการออกแบบห้องเรียนคอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนแบบร่วมมือ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาโสตทัศนศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ชัชวนันท์ สันธิเดช. (2546). พฤติกรรมในการแสวงหาข้อมูล ความสามารถในการใช้ และประโยชน์ที่ได้จากเทคโนโลยีสารสนเทศของประชาชนที่เข้ารับการอบรมหลักสูตรคอมพิวเตอร์. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสารมวลชน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ชานนท์ วินิจชีวิต, บุญญฤทธิ์ ศรีสุข และ ธิติกานต์ หุ่นเจริญ. (2553). การสื่อสารทางการตลาดแบบบูรณาการที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์เสริมแคลเซียมของประชากรอายุ 50 ปีขึ้นไปในเขตกรุงเทพมหานคร. รายงานการศึกษาค้นคว้าอิสระ วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล.
ฐาปนีย์ ธรรมเมธา. แนวคิดการจัดการเรียนการสอนคอมพิวเตอร์. (2540). [ออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.kroobannok.com/142.วันที่เข้าถึงข้อมูล 30 ธันวาคม 2555.
ทรงธรรม ธีระกุล. (2548). การสื่อสาร: กลยุทธ์สู่ความสำเร็จขององค์กร. วารสารปาริชาต มหาวิทยาลัยทักษิณ, 18(1), 51 – 61.
ทศพนธ์ นรทัศน์. คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ. (2552). [ออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.mict.go.th/ewt_news.php?nid= 1186&filename=inde. วันที่เข้าถึงข้อมูล 8 มกราคม 2555.
ธงชัย สันติวงษ์ และชนาธิป สันติวงษ์. (2542). องค์การกับการสื่อสาร. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ปรมะ สตะเวทิน และคณะ. (2546). หลักและทฤษฎีการสื่อสาร. นนทบุรี:มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ภากิตติ์ ตรีสกุล. (2554). หลักนิเทศศาสตร์. กรุงเทพมหานคร : ศูนย์หนังสือมหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา.
ยุบล เบ็ญจรงค์กิจ. (2554). การวางแผนและการประเมินผลการสื่อสารเชิงกลยุทธ์. กรุงเทพมหานคร : คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
รีวิวรายการทันโลกทันธรรม ตอนช่องว่างระหว่างวัย. (2553). [ออนไลน์] แหล่งที่มา http://www.dmc.tv. วันที่เข้าถึงข้อมูล 25 พฤศจิกายน 2555.
ลัดดา ศุขปรีดี. (2546). การสื่อสารทางการเรียนการสอน. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 15(1), 11-20.
ลำพอง บุญช่วย. (2530). การสอนเชิงระบบ. ปทุมธานี: วิทยาลัยครูเพชรบุรีวิทยาลงกรณ์.
ศิริวรรณ อนันต์โท. ช่องว่างทางดิจิตัลในการใช้อินเทอร์เน็ตของผู้สูงอายุ. ใน เอกสารประกอบการประชุมวิชาการเรื่อง แนวทางสู่การเข้าถึงผู้สูงวัยที่ยังเข้าไม่ถึงคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต. (2552). [ออนไลน์] แหล่งที่มา http://www.ictforall.org.วันที่เข้าถึงข้อมูล 5 พฤศจิกายน 2555.
ศุภนิศา เกษมสันต์, หม่อมหลวง. (2546). บทบาทของการสื่อสารผ่านสื่อกลางคอมพิวเตอร์กับการสร้างความสัมพันธ์แบบชุมชนเสมือนของผู้สูงอายุสมาชิก OPPY Club. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสารมวลชน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุรกุล เจนอบรม. (2541). วิสัยทัศน์ผู้สูงอายุและการศึกษานอกระบบสำหรับผู้สูงอายุไทย. กรุงเทพมหานคร : นิชินแอดเวอร์ไทชิ่งกรุ๊ฟ.
อานนท์ สายคำฟู. การจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ที่ประสบผลสำเร็จ. (2553). [ออนไลน์] แหล่งที่มา http://www.gotoknow.org/posts/416891. วันที่เข้าถึงข้อมูล 30 ธันวาคม 2555.
อาภรณ์ ใจเที่ยง. (2550). หลักการสอน. กรุงเทพมหานคร : โอ.เอส. พริ้นติ้ง เฮ้าส์.
อุบลรัตน์ เพ็งสถิตย์. (2551). จิตวิทยาผู้สูงอายุ. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ภาษาอังกฤษ
Cody, M. J., Dunn D., Hoppin S., & Wendt P. (1999). Silver surfers: training and evaluating internet use among older adult learners. Communication Education, 48(4), 270-286.
Gagliardi C., Mazzarini G., Papa R., Giuli C., & Marcellini F. (2007). Designing a learning program to link old and disabled people to computers. Educational Gerontology, 34(1), 15-29.
Mottet T. P., Richmond V. P., & McCroskey J. C. (2006). Handbook of instructional communication: rhetorical and relational perspectives. Upper Saddle River, NJ: Pearson Education.
Wells, W. D. & Prensky, D. (1996). Consumer behavior. New York: John Wiley & Sons