การตัดสินใจซื้อของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตเกี่ยวกับเมนูอาหารและร้านอาหาร ผ่านเว็บไซต์ที่มีเนื้อหาสื่อที่ผู้บริโภคสร้างเอง
Main Article Content
Abstract
The objective of this research is to study; the overall characteristics of the user-generated food menus and contents related to restaurants on websites and; the relation amongst 3 factors namely, information seeking behavior, credibility of website and Internet user’s buying decision.
The form of this research is a combination of quantitative research and qualitative research. The results of this research are as follows: 1) Overall user-generated contents related to restaurants including food menus on websites consists of the characteristics of food menus and restaurants, the relevant reviews, features/specialties and illustrations. 2) Information seeking behavior is positively related to the credibility of websites having user-generated content related to restaurants including food menus. 3) Behavior of seeking information from websites having user-generated content related to restaurants including food menus is positively related to Internet user’s buying decision. 4) Credibility of websites having user-generated content related to restaurants including food menus is positively related to Internet user’s buying decision.
Article Details
References
กรรณิกา เชาว์วัฒนกุล. (2549). การก่อตัว วิถีชีวิต และปฏิกิริยาในช่วงวิกฤติของชุมชนท่องเที่ยวทางอินเทอร์เน็ต เว็บไซต์เทรคกิ้งไทยดอทคอม. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, ภาควิชาวารสารสนเทศ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. .
กาญจนา แก้วเทพ, ขนิษฐา นิลผึ้ง และ รัตติกาล เจนจัด. (2556). สื่อสาร อาหาร สุขภาพ. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เกษรา เกิดมงคล. (2546). รูปแบบการดำเนินชีวิต การแสวงหาข้อมูลเพื่อการตัดสินใจท่องเที่ยว และพฤติกรรมการท่องเที่ยวของคนวัยทำงาน. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, ภาควิชาการประชาสัมพันธ์ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เคลียร์ จันทร์ศุภฤกษ์. เนื้อหาเกี่ยวกับการแนะนำผลิตภัณฑ์กล้องดีเอสแอลอาร์ที่สร้างโดยผู้ใช้อินเทอร์เน็ตกับการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภค. (2554). วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สาขาวิชานิเทศศาสตร์ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ใครๆก็ชอบกิน. [ออนไลน์]. 2555. แหล่งที่มา: http://www.brandage.com/Modules/DesktopModules/Article/ArticleDetail.aspx?tabID =7&ArticleID=7284&ModuleID=701&GroupID=1736 [3 พฤษภาคม 2556]
จริมา ทองสวัสดิ์. (2545). ความต้องการข่าวสาร การเปิดรับ และการใช้ประโยชน์ข่าวสารด้านสุขภาพจากเว็บไซต์ สุขภาพของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, ภาควิชาการประชาสัมพันธ์ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
จิตรภัทร์ จึงอยู่สุข. (2543). การมีส่วนร่วม ทัศนคติ การตัดสินใจซื้อ ความภักดีต่อตราสินค้าของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร ที่มีต่อสินค้าความเกี่ยวพันสูงและสินค้าความเกี่ยวพันตํ่าที่มีการจัดการตลาดเชิงกิจกรรม. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, ภาควิขาการประชาสัมพันธ์ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ชาตินพคุณ วิไลวรรณ. (2552). ความน่าเชื่อถือของข้อมูลข่าวสารในเว็บบอร์ดบลูพลาเน็ท พันทิปดอทคอม. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, ภาควิชาวารสารสนเทศ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ชูชัย สมิทธิไกร. (2554). พฤติกรรมผู้บริโภค. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ทรูฮิตคืออะไร. [ออนไลน์]. 2550. แหล่งที่มา: http://gits.nectec.or.th/services/truehits/ [28 มีนาคม 2555]
ทศวรรษที่สองของการปลุกกระแสออนไลน์ จาก JobsDB.com สู่ 88 DB.com. (2552). [ออนไลน์].
แหล่งที่มา: http://th.jobsdb.com/th/EN/Resources/JobSeekerArticle/satinee-interview-sm.htm?ID=4480 [28 มีนาคม 2555]
ธานินทร์ ศิลป์จารุ. (2553). การวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย SPSS. พิมพ์ครั้งที่ 11. กรุงเทพมหานคร : บิสซิเนสอาร์แอนด์.
ดีนฤมล เพิ่มชีวิต. (2552). การแสวงหาข้อมูล การใช้ประโยชน์ และความเชื่อถือในข้อมูลการท่องเที่ยวจากสื่อออนไลน์ที่ผู้บริโภคสร้างเองของคนวัยทำงาน. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, ภาควิชาการประชาสัมพันธ์ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ปรมะ สตะเวทิน. (2541). หลักนิเทศศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพมหานคร: ภาพพิมพ์.
ปรเมศวร์ รัมยากูร. (2546). พฤติกรรมการสื่อสาร ทัศนคติ และการใช้ประโยชน์ จากบริการกระดานข่าวผ่านระบบเวิล์ดไวด์เว็บของวัยรุ่นในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, ภาควิชาการประชาสัมพันธ์ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ปาริชาต สถาปิตานนท์. (2545). ระเบียบวิธีวิจัยการสื่อสาร. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พิมานรัตน์ เศรษฐวานิช. (2545). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าจากร้านค้าปลีกเฉพาะประเภทของผู้บริโภค. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, ภาควิชาการประชาสัมพันธ์ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พีระ จิรโสภณ. (2534). วิธีการวิจัยการสื่อสารมวลชน. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ยุบล เบ็ญจรงค์กิจ. (2534). การวิเคราะห์ผู้รับสาร. กรุงเทพมหานคร : ที.พี. พริ้นท์.
เอื้องอริน สายจันทร์. (2553). บทบาทของรายการอาหารทางโทรทัศน์ในการสืบทอดวัฒนธรรมอาหาร.วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, ภาควิชาการสื่อสารมวลชน คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
CGM โลกนี้เป็นของคุณ. (2552). [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.maximumboy.com/consumer-generated-media/ [21 มีนาคม 2555]
ภาษาอังกฤษ
Aaker, D. A. (1996). Building strong brands. New York, NY: Free Press.
Arnett, J. J. (1995). Adolescents’ uses of media for self-socialization. Journal of Youth and Adolescence, 24, 519-533.
Assael, H. (1998). Consumer behavior and marketing action. (6th eds.). Cincinnati, OH: South- Western College.
Assael, H. (2004). Consumer behavior: A Strategic approach (1st ed.). Boston, MA: Houghton Mifflin.
Atkin, Charles K. (1973). New Model For Mass Communication Research. NY: The Free Press.
Baker, M. J., & Churchill, G. A. (1977). The impact of physically attractive models on advertising evaluations. Journal of Marketing Research 14 : 538-555.
Belch, G. E., & Belch, M. A. (2012). Advertising and promotion: An integrated marketing communications perspective (9th ed.). Boston: McGraw-Hill Irwin.
Bittner, J. R. (1996). Mass communication. (6th ed). Boston: Allyn and Bason.
Blackwell, R., Minard, P. W., and Eagel, J. F. (2006). Consumer Behavior. (10th ed.) Mason, OH: Thomson/ South-Western.
Clifton, R., et al. (2004). Brands and branding. (1st ed). Princeton, NJ: Bloomberg Press.
Harris, T.L. (1998). Value-added public relations: The secret weapon of integrated marketing. (1st ed). Lincolnwood, USA: NTC Business Books.
Keller, K. L. (2008). Strategic brand management: Building, measuring, and managing brand equity (4th ed.). Upper Saddle River, NJ: Prentice Hall.
Nkwocha, I., Bao, Y., Johnson, W. C., and Brotspies, H. V. Product fit and consumer attitude toward brand extensions: The moderating role of product involvement. Journal of Marketing Theory and Practice 13 (2005): 49 – 61.
Noble, S. M., Haytko, D. L., and Phillips, J. What drives college-age generation Y consumers? Journal of Business Research 62 (2009) : 617-628.
Peter, J. P., and Olson, J. C. (2010).Consumer behavior & Marketing strategy. (9th eds). NY: McGraw-Hill Irwin.
Schiffman, L. G., and Kanuk, L. L. (2007). Consumer behavior (9th eds). Upper Saddle River, NJ : Pearson/Prentice Hall.
Schultz, D. E., and Barnes, B. E. (1999). Strategic brand communication campaign. (5th eds). Lincolnwood, Illinois: NTC Business Books.
Shimp. T. A. (2003). Integrated marketing communication in advertising and promotion (6th eds). Mason, OH: Thomson/South-Western.
Solomon, M. R. (2011). Consumer behavior: Buying, having, and being (9thed.). Upper Saddle River, NJ: Prentice Hall.
Sproles, G. B., and Kendall, E. L. A methodology for profiling consumer’s decision-making styles. Journal of Consumer Affairs 20 (1986) : 267-269.