การศึกษาความต้องการจำเป็นจากประสบการณ์ผู้ใช้ในงานเชื่อมโลหะเพื่อพัฒนาทักษะงานเชื่อมโลหะของนักเรียนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ

Main Article Content

สมพงษ์ ไกยะฝ่าย
สายหยุด ภูปุย
วิศรุต พยุงเกียรติคุณ

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาทักษะของนักเรียนในหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพเชื่อมโลหะ โดยการสำรวจความต้องการจำเป็นจากประสบการณ์ของผู้ใช้ในงานช่างเชื่อมโลหะ กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยนักเรียนวิทยาลัยการอาชีพคำม่วง จำนวน 10 คน ครูผู้สอนจากสถาบันต่าง ๆ 3 คน และอาจารย์จากมหาวิทยาลัย 2 คน การเลือกตัวอย่างใช้วิธีเจาะจง โดยเครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมคือแบบสอบถาม สัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ โดยศึกษา 5 มิติ ได้แก่ บทบาท อารมณ์ การรับรู้ เจตคติ และพฤติกรรม สถิตติที่ใช้ในการวิจัยคือค่าเฉลี่ย ซึ่งแบบสอบถามที่ผ่านการประเมินดัชนีความสอดคล้อง (IOC) จากผู้เชี่ยวชาญจำนวน 3 ท่าน มีค่าความสอดคล้องรายข้อตั้งแต่  0.60 – 1.00 ผลการศึกษาพบว่า ผู้เรียนมีการฝึกปฏิบัติไม่เพียงพอ ทำให้ขาดทักษะทางเทคนิค ชิ้นงานที่ไม่มีมาตรฐานย้ำความจำเป็นในการปรับปรุงการสอน และการใช้สื่อช่วยสอน เพื่อเตรียมความพร้อมและพัฒนาทักษะของผู้เรียนให้ก้าวสู่อาชีพช่างเชื่อมอย่างมืออาชีพและปลอดภัย

Article Details

How to Cite
ไกยะฝ่าย ส. ., ภูปุย ส., & พยุงเกียรติคุณ ว. . . (2024). การศึกษาความต้องการจำเป็นจากประสบการณ์ผู้ใช้ในงานเชื่อมโลหะเพื่อพัฒนาทักษะงานเชื่อมโลหะของนักเรียนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ . วารสารมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และนวัตกรรม มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์, 3(1), 86–96. https://doi.org/10.14456/hsi.2024.7
บท
บทความวิจัย

References

กรกนก วรหาญ นิรุต ถึงนาค และชมพูนุช เมฆเมืองทอง. (2565). การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมแบบผสมผสาน เพื่อเตรียมความพร้อมสู่อาชีพช่างเชื่อมสำหรับนักศึกษาครูช่างอุตสาหกรรม. วารสารมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี, 11(1), 155-173.

ดิเรก สุวรรณฤทธิ์, กันตยา ศรีสังข์ และสมภพ ดีปัญญา. (2562). การศึกษาความเร็วที่ใช้ในการป้อนลวดเชื่อม ฟลักซ์ (การควบคุมระยะอาร์ก) สำหรับงานเชื่อมไฟฟ้าในงานเดินแนวงานเชื่อมต่อมุม และงานเชื่อมต่อตัวทีท่าราบ. วารสารสถาบันการอาชีวศึกษาภาคเหนือ 3, 3(5), 26-42.

พนัชกร มุมอ่อน และ กาญจนา นาถะพินธุ. (2565). ปัญหาสุขภาพในการทำงานของช่างเชื่อมโลหะในกลุ่ม แรงงานในระบบและกลุ่มแรงงาน นอกระบบในเขตอำเภอหนองเรือ จังหวัดขอนแก่น. วารสารวิทยาศาสตร์สุขภาพและการสาธารณสุขชุมชน, 5(1), 44-55.

ณัทธร สุขสีทอง. (2552) พฤติกรรมการป้องกันการบาดเจ็บทางตาจากการประกอบอาชีพของช่างเชื่อมโลหะ ในจังหวัดปทุมธานี. มหาวิทยาลัยมหิดล/กรุงเทพฯ. DOI : https://doi.nrct.go.th/ListDoi/listDetail?Resolve_DOI=10.14457/MU.the.2009.72

วิชัย วงษ์ใหญ่ และมารุต พัฒผล. (2565). ทักษะการเรียนรู้และพัฒนา. ศูนย์ผู้นำนวัตกรรมหลักสูตรและการเรียนรู้.

ศากุล ช่างไม้. (2555). การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ. วารสารมหาวิทยาลัยคริสเตียน, 18(1), 42-53.

สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. (2565). หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 (ปรับปรุง พุทธศักราช 2565) ประเภทอุตสาหกรรมสาขาวิชาช่างยนต์. กรุงเทพฯ.

สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. (2560). แผนพัฒนาการอาชีวศึกษา 2560-2579. กรุงเทพฯ.

Ananda, L. R., Rahmawati, Y., & Khairi, F. (2023). Critical thinking skills of Chemistry students by integrating design thinking with STEAM-PjBL. JOTSE: Journal of Technology and Science Education, 13(1), 352-367.

Knowles, M. S. (1975). Self-directed learning: A guide for learners and teachers. Association Press, 291 Broadway, New York, New York .

Kolb, D. A. (2005), Experiential learning: Experience as the source of learningand development. Prentice-Hall, Inc., Englewood Cliffs, N.J., 38.

Lazuardi, M. L., & Sukoco, I. (2019). Design Thinking David Kelley & Tim Brown: Otak Dibalik Penciptaan Aplikasi Gojek. Organum: Jurnal Saintifik Manajemen Dan Akuntansi, 2(1), https://doi.org/10.35138/ORGANUM.V2I1.51

Lin, P.Y., Hong, H.Y., & Chai, C.S. (2020). Fostering college students’ design thinking in acknowledge-building environment. Educational Technology Research and Development, 68(3),949-974.https://doi.org/10.1007/s11423-019-09712-0

Wrigley, C., & Straker, K. (2017). Design Thinking pedagogy: the Educational Design Ladder. Innovations inEducation and Teaching International, 54(4), 374-385. https://doi.org/10.1080/14703297.2015.1108214