โกรฟ : สารานุกรมยอโลกดนตรี

Main Article Content

เฉลิมศักดิ์ Chalermsak พิกุลศรี Pikulsri

Abstract

ในแวดวงของผูที่สนใจศึกษาวิชาดนตรี เมื่อกลาวถึงเอกสารอางอิงที่ชวยใน การคนควาประเภทพจนานุกรมและสารานุกรม ที่มีการตีพิมพและปรากฏเปนที่รูจัก กันอยางแพรหลายในปจจุบัน มีอยูดวยกันหลายชุด จากหลายสํานักพิมพ ซึ่งใน จํานวนนี้มีขนาดของความสั้น-ยาวแตกตางกันไป ตั้งแตจบภายในเลมเดียวจนถึงมี ขนาดความยาว 29 เลม อยางไรก็ตามพจนานุกรมและสารานุกรมที่ตีพิมพเปนภาษา อังกฤษ ไดรับการยอมรับอยูในวงกวางกวาที่พิมพเผยแพรดวยภาษาอื่นๆ ที่จัดพิมพ โดยสํานักพิมพอ็อคฟอรดมีจํานวน 3 ชุด คือ The Concise Oxford Dictionary of Music (ค.ศ.1952) The Oxford Companion to Music (ค.ศ.1938) และ The New Oxford Companion to Music (2 เลม, ค.ศ.1983) จากสํานักพิมพฮาวารด อีกหนึ่งเลม Harvard Dictionary of Music (ค.ศ.1944) โดยมี Willi Apel เปน บรรณาธิการ นอกจากนั้นยังมี Biographical Dictionary of Musician (ค.ศ.1900) มี Baker เปนบรรณาธิการ International Cyclopedia of Music and Musicians (ค.ศ.1938) โดยมี Oscar Thompson เปนบรรณาธิการ และสารานุกรมของโกรฟ ซึ่งไดมีการจัดพิมพเผยแพรจํานวน 3 ชุดดวยกันคือ Grove Dictionary of Music and Musicians จํานวน 10 เลม (ค.ศ.1878) และ The New Grove Dictionary of Music and Musicians จํานวน 20 เลม (ค.ศ.1980) โดยมี Stanley Sadie เปน บรรณาธิการ และ The New Grove ชุดที่ 3 ที่จัดพิมพขึ้นในป ค.ศ.2001 จํานวน 29 Vols โดยมี Stanley Sadie เปนบรรณาธิการ ในจํานวนที่กลาวมาทั้งหมดแลวนั้น The New Grove (ค.ศ.2001) นับไดวาเปนสารานุกรมที่ไดรับการยอมรับในดาน ความสมบูรณมากที่สุดในปจจุบัน

โกรฟ เรียกยอมาจากชื่อเต็มวา Sir George Grove แตเดิมที่ทานมีอาชีพ เปนวิศวกรดานโยธา เปนผูที่มีความสนใจ ใฝรู ศึกษาเพิ่มเติมสิ่งใหมอยูตลอดเวลา ทานเขามามีความเกี่ยวของกับดนตรีเต็มตัวในชวงที่เขารับตําแหนงผูอํานวยการราช วิทยาลัยดนตรี (Royal College of Music) สําหรับสารานุกรมดนตรีของโกรฟที่ได พิมพเผยแพรเปนที่รูจักกันดีอยางแพรหลายในปจจุบัน ประกอบดวย Grove’s Dictionary of music and musicians, The New Grove’s Dictionary of Music and Musicians และ Grove Dictionary of Musical Instrument. ชุดแรกของโกรฟ-สารานุกรมดนตรีมีจํานวน 10 เลม ซึ่งตองใชเวลาในการดําเนิน การในดานตางๆ ถึง 11 ป โดยเลมแรกออกพิมพเผยแพรในป ค.ศ.1878 โกรฟสารานุกรมดนตรีชุดแรกนี้ถือเปนสารานุกรมทางดนตรีที่สมบูรณแบบที่สุดในชวง สมัยศตวรรษที่ 19 นอกจากนั้นยังถือวาเปนงานดานดนตรีวิทยาชิ้นแรกของอังกฤษ  

ในชวงกอนสงครามโลก จุดศูนยกลางวิทยาการในหลายๆ ดานมีจุดศูนยกลาง อยูในประเทศกลุมยุโรป ซึ่งรวมถึงการศึกษาดานดนตรี ความเปนศูนยกลางใน วิทยาการเหลานั้น เคลื่อนยายจากยุโรปไปสูอเมริกา ภายหลังจากสงครามโลก โดยเฉพาะอยางยิ่งหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ดังนั้นสารานุกรมทางดนตรีของโกรฟ ชุดแรกที่พิมพในป ค.ศ.1878 จึงเปนผลงานทางดนตรีวิทยาของนักวิชาการฝงอังกฤษ หลังจากที่ความเปนศูนยกลางทางการศึกษาเชิงดนตรีไดถูกเคลื่อนไปอยูอเมริกา ความรวมมือทางการศึกษาเชิงดนตรีวิทยาระหวาง อเมริกันและอังกฤษก็เริ่มมีความ รวมมือและดําเนินควบคูกันไปอยางใกลชิด

โกรฟ-สารานุกรมดนตรีชุดแรกไดรับความนิยมอยางสูงเชนกัน ดังปรากฏ มีการจัดพิมพซํ้าอีกหลายครั้งดวยกัน ในชวงเวลาที่ลวงเลยมาเกือบ 1 ศตวรรษ (93 ป) หลังจากการพิมพโกรฟชุดแรก ประกอบกับการศึกษาดานดนตรีไดพัฒนาไป อยางรวดเร็ว กอใหเกิดองคความรูใหมเพิ่มเติม นักดนตรีวิทยา จึงเห็นวาควรมี สารานุกรมฉบับที่สมบูรณกวาเดิม เพื่อใหเหมาะสมกับสภาพและกาลเวลาที่เปลี่ยนไป 

ดังนั้น จึงทําใหเกิดโกรฟ-สารานุกรมดนตรีชุดที่สองเกิดขึ้น ซึ่งในการดําเนิน งานในครั้งนี้นับเปนการรวมมือกันอยางใกลชิดของนักดนตรีวิทยา (Musicologist) นักมานุษยวิทยาดนตรี (Ethnomusicologist) จากหลายประเทศ โดยมีนักวิชาการ ดนตรีสายสหรัฐอเมริกาเปนตัวตั้งตนที่สําคัญ และมีนักวิชาการประเทศในแถบยุโรป เปนสวนรวม จึงถือไดวาโกรฟ-สารานุกรมดนตรีฉบับใหมนี้ เปนสารานุกรมที่มีความ สมบูรณที่สุดในชวงศตวรรษที่ 20 นี้ ดวยเหตุที่โลกในยุคปจจุบันมีการเปลี่ยนแปลง อยางรวดเร็ว การศึกษาทางดานดนตรีก็พัฒนาไปอยางรวดเร็วเชนกัน ดังนั้นในป ค.ศ.2001 จึงเกิด The New Grove’s Dictionary of Music and Musicians ชุดที่ 3 เปนจํานวน 29 เลม เปนการเติมเต็มองคความรูทางดนตรีที่ผานระยะเวลา มากวา 2 ทศวรรษ จึงกลาวไดวาสารานุกรมชุดที่ 3 นี้เปนสารานุกรมดนตรีแหง ศตวรรษที่ 21

จากความพยายามที่จะทําใหโกรฟสารานุกรมดนตรีเปนสารานุกรมที่ สมบูรณแบบแหงศตวรรษ ดังนั้นจึงกําหนดใหมีผูเขียนมาจากกลุมคนหลายกลุมที่ เกี่ยวของทางดนตรีทั้งนักดนตรี นักดนตรีวิทยา นักมนุษยสังคีตวิทยา เหตุนี้ขอบขาย เนื้อหาของสารานุกรมฉบับนี้จึงครอบคลุมเรื่องราวของดนตรีประเภทตางๆ ของกลุม ชนทั่วทั้งโลก ไมวาจะเปนยุโรป อเมริกา เอเชีย อัฟริกา ถึงแมจะชื่อวา Dictionary ก็จริง แตลักษณะของการเรียบเรียง The New Grove’s Dictionary of Music and Musicians จั ดเปนงานลักษณะประเภทของ สารานุกรม กลาวคือ เปนการบรรยายคําทั้งในดานของ ประวัติความเปนมา เนื้อหา แตกตางจากพจนานุกรม ที่มุงอธิบายเฉพาะคําสั้นๆ ในขณะที่ โกรฟสารานุกรมนั้น เปนการอธิบายเรื่องราวที่เกี่ยวกับดนตรีที่เปนเรื่องเปนราวอยางกวางขวาง เปนผล จากการศึกษาวิจัยที่ครอบคลุมถึงประเด็นตางๆ อยางละเอียด ทั้งในดานของ วิวัฒนาการ หลักการของคําๆ นั้น มีภาพประกอบมากมาย ตลอดทั้งมีบรรณานุกรม ที่ชวยอํานวยความสะดวกในการคนควาเพิ่มเติมของคําแตละคํา สําหรับผูที่ตองการ ศึกษาเพิ่มเติมใหลึกลงไปกวานั้น หรือหากผูอานไมมีความประสงคที่จะเจาะลึกไป มากกวานี้ เนื้อหาสาระก็จบลงอยางสมบูรณเชนกัน

 โกรฟสารานุกรมดนตรีนับวามีความสําคัญอยางมากตอการศึกษาทางดนตรี โดยเฉพาะสถาบันที่เปดสอนวิชาดนตรี ไมวาจะเปนดานดนตรีตะวันตกหรือดนตรี ไทย ลวนแลวแตมีความสําคัญอยางยิ่ง ถึงแมวาโกรฟสารานุกรมดนตรีจะมีราคาที่ แพงมาก แตคุณคาและประโยชนที่จะไดรับนั้นนับวาเกินคุม โกรฟสารานุกรมดนตรี จึงเปรียบเสมือนแหลงความรูทางดนตรี สําหรับนักดนตรี นักศึกษาดนตรี ครูดนตรี ตลอดทั้งนักวิชาการดนตรีและผูสนใจทั่วไป โดยเฉพาะอยางยิ่งในสภาพที่สถาบัน ดนตรีหลายแหงในประเทศไทย ประสบปญหาหลายดาน เชน บุคลากรที่มีความ เชี่ยวชาญเฉพาะดาน ซึ่งนับเปนอุปสรรคอยางยิ่งตอแนวคิดที่จะพัฒนาบัณฑิตใหมี ความสามารถในเชิง “ลุมลึก” ตามเปาหมายที่ตั้งไว ดังนั้น การศึกษาความรูตามที่ ปรากฏในโกรฟสารานุกรมดนตรี จะทําใหผูศึกษา ครู นักเรียน สามารถเกิดทรรศนะ ที่กวางไกล ซึ่งจะเปนทางที่จะนําไปสู “ความลุมลึก” ตามปณิธานที่ตั้งไว

Article Details

How to Cite
พิกุลศรี Pikulsri เ. C. (2016). โกรฟ : สารานุกรมยอโลกดนตรี. Journal of Fine and Applied Arts Khon Kaen University, 8(1), 424–428. Retrieved from https://so02.tci-thaijo.org/index.php/fakku/article/view/65554
Section
Academic Articles