พระอัจฉริยภาพและคุณูปการดานดุริยางคศิลป ของสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟาบริพัตรสุขุมพันธุ กรมพระนครสวรรควรพินิต ที่มีตอกองดุริยางคทหารบกและกองดุริยางคทหารเรือ The Musical Expertise and The Contribution of His Royal Highness Prince Paripat Sukhumb

Main Article Content

สุพจน Supod เทียมเมฆา Tiammeakha

Abstract

This qualitative study is aimed at : 1) examining the musical expertise of His Royal Highness Prince Paripat Sukhumbandhu Kromphra Nakhonsawan Woraphinit (2424 – 2487; 1881 - 1944), and 2) investigating the contribution of His Royal Highness Prince Paripat Sukhumbandhu Kromphra Nakhonsawan Woraphinit to the Army Military Band and Naval Military Band. The research tools included an interview form and an observation form. Written documents and fi eldwork data were collected between October, 2011 and April, 2013. The fi eldwork data were obtained from 10 key-informants, 36 casual informants, and 3 general informants. The data were checked for their accountability with the triangulation technique, analyzed according to the given objectives, and the results of the study were presented in an analytical format.  The results of the study revealed that His Royal Highness Prince Paripat Sukhumbandhu Kromphra Nakhonsawan Woraphinit could play almost every Thai musical instrument and could play each of them excellently. For the Western instruments, he had also excellent skills on the piano. His compositional works can be classifi ed into 6 types, with 75 pieces altogether. These were : 5 Western style pieces for the military band; 8 Thai classical music in Western style arrangement for the military band; 20 Thai classical pieces in Thai style arrangement for the military band; 25 Thai classical pieces for the Thai classical ensemble; 4 Thai classical instrumental solo pieces; and 13 Thai classical vocal pieces.  His musical contribution included: 18 pieces for the army military band and 27 pieces for naval military band. The Waltz Pluemchit was the fi rst piece he wrote in Western notation, and the March Paripat the fi rst piece written in Western classical style. The Khaekmon Bangkhun phrom Thao was the fi rst Thai classical piece arranged in Thai classical style for a military band. On the management aspect, Prince Paripat set the musical unit into an organising system and kept the records with document. However, he produced regulations and the ‘course of horn’ for Department of Navy in 1906 which is the fi rst study of western music in Thailand. In conclusion, His Royal Highness Prince Paripat Sukhumbandhu Kromphra Nakhonsawan Woraphinit made the great musical contributions, not just to the Military Band and to the Naval Band, but to the whole country as well. For this great contribution, he is then regarded as “The Father of the Western Music Education and the Military Bands of Thailand.”

 

การวิจัยนี้เปนการวิจัยเชิงคุณภาพ มีความมุงหมาย เพื่อ 1) ศึกษาพระ อัจฉริยภาพทางดานดุริยางคศิลปของสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอเจาฟาบริพัตร สุขุมพันธุ กรมพระนครสวรรควรพินิตและ 2) ศึกษาคุณูปการดานดุริยางคศิลปของ สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟาบริพัตรสุขุมพันธุ กรมพระนครสวรรควรพินิต ที่มีตอกองดุริยางคทหารบกและกองดุริยางคทหารเรือ เครื่องมือที่ใชในการวิจัยไดแก แบบสัมภาษณ และแบบสังเกต ทําการเก็บขอมูลเอกสารและขอมูลภาคสนาม ระหวางเดือนตุลาคม พ.ศ.2554 ถึง เดือนเมษายน พ.ศ.2556  ผลการวิจัย พบวา สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟาบริพัตรสุขุมพันธุกรม พระนครสวรรควรพินิต ทรงเลนเครื่องดนตรีไทยไดเกือบทุกเครื่องและมีความ สามารถในการบรรเลงไดอยางชํานาญ สวนเครื่องดนตรีตะวันตกพระองคทรงเลนเปยโนไดอยางชํานาญเชนกัน สําหรับงานพระนิพนธบทเพลงพระองคทรงพระนิพนธ ไว 6 รูปแบบ รวม 75 เพลงไดแก เพลงแบบตะวันตก สําหรับวงโยธวาทิตจํานวน 5 เพลงเพลงไทยเดิมเรียบเรียงเสียงประสานแบบตะวันตก สําหรับวงโยธวาทิตจํานวน 8 เพลง เพลงไทยเดิมเรียบเรียงเสียงประสานแบบไทยเดิม สําหรับวงโยธวาทิตจํานวน 20 เพลง เพลงไทยเดิมสําหรับวงดนตรีไทยจํานวน 25 เพลง เพลงไทยเดิมทางบรรเลง เดี่ยว 4 เพลง เพลงไทยเดิมทางขับรองจํานวน 13 เพลง คุณูปการดานดุริยางคศิลปของพระองค ที่มีตอกองดุริยางคทหารบกและ กองดุริยางคทหารเรือ พบวา บทเพลงพระนิพนธที่เกี่ยวของกับกองดุริยางคทหาร บก มีจํานวน 18 เพลง บทเพลงที่เกี่ยวของกับกองดุริยางคทหารเรือ มีจํานวน 27 เพลง เพลงแบบตะวันตกที่บันทึกเปนโนตสากลเพลงแรก คือ เพลงวอลทซปลื้มจิตต สวนเพลงตะวันตกประเภทเพลงมารชเพลงแรก คือ เพลงมารชบริพัตรเพลงไทยเดิม เรียบเรียงเสียงประสานแบบไทย สําหรับวงโยธวาทิต เพลงแรก คือ เพลงแขกมอญ บางขุนพรหมเถา และพระองคทรงจัดการทํางานใหเปนระบบและมีหลักฐานที่เปน เอกสาร ทรงกําหนดระเบียบขอบังคับของกรมทหารเรือ เรื่องหลักสูตร “วิชาการ แตร” เมื่อ พ.ศ.2449 ซึ่งเปนการเรียนการสอนวิชาดนตรีตะวันตกที่เกิดขึ้นครั้งแรก ในประเทศไทย โดยสรุป สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟาบริพัตรสุขุมพันธุ กรมพระนคร สวรรควรพินิต ทรงมีคุณูปการตอกองดุริยางคทหารบกและกองดุริยางคทหารเรือ และตอวงการดนตรีของไทยทั้งประเทศ ดวยคุณูปการอันยิ่งใหญแกประเทศชาติดาน การดนตรีนี้ จึงสามารถกลาวไดวา พระองคทรงเปน “พระบิดาของการศึกษาดนตรี ตะวันตก และของวงโยธวาทิต ของประเทศไทย” 

Article Details

How to Cite
เทียมเมฆา Tiammeakha ส. S. (2016). พระอัจฉริยภาพและคุณูปการดานดุริยางคศิลป ของสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟาบริพัตรสุขุมพันธุ กรมพระนครสวรรควรพินิต ที่มีตอกองดุริยางคทหารบกและกองดุริยางคทหารเรือ The Musical Expertise and The Contribution of His Royal Highness Prince Paripat Sukhumb. Journal of Fine and Applied Arts Khon Kaen University, 8(1), 361–380. Retrieved from https://so02.tci-thaijo.org/index.php/fakku/article/view/65551
Section
Research Articles