การออกแบบและพัฒนาบรรจุภัณฑกันกระแทกจากเศษกระดาษ Design and Development of Resistant Packaging types from Scrap Paper

Main Article Content

ประสิทธิ์ Prasit พวงบุตร Pungboot

Abstract

การวิจัยเกี่ยวกับการออกแบบและพัฒนาบรรจุภัณฑชนิดกันกระแทกจาก เศษกระดาษโดยมีวัตถุประสงค 3 ประการ คือ 1) ศึกษาและวิเคราะหขอมูลปริมาณ และชนิดของเศษกระดาษเพื่อนํามาทดลองและพัฒนาเปนบรรจุภัณฑกันกระแทก 2) ศึกษาและวิเคราะหผลิตภัณฑที่ตองการใชบรรจุภัณฑกันกระแทก 3) เพื่อ ออกแบบและพัฒนาบรรจุภัณฑกันกระแทกโดยการศึกษาวิจัยมุงเนนที่จะออกแบบ และพัฒนาบรรจุภัณฑกันกระแทกใหเหมาะสมและสอดคลองกับผลิตภัณฑที่มีความ ตองการใชงานตลอดจนเปนการเพิ่มมูลคาและลดอัตราการสูญเสียในการขนสง สําหรับผลิตภัณฑที่มีความเปราะบางและแตกหักงาย การศึกษาวิจัยนี้เปนการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพและการวิจัยเชิงทดลอง กลุมประชากรกลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาวิจัยครั้งนี้คือ ผูประกอบการเกี่ยวกับ การผลิตเครื่องปนดินเผาและผลิตงานเซรามิกในจังหวัดอุบลราชธานีซึ่งไดจากการ สุมตัวอยางแบบเจาะจง  จากผลการศึกษาวิจัยพบวา การสํารวจปริมาณเศษกระดาษที่เหลือจาก การผลิตและการใชงานในโรงพิมพและหนวยงานตางๆมีปริมาณเศษกระดาษโดย เฉลี่ยไมนอยกวา 50 กิโลกรัมตอวันตอหนวยงาน โดยผูวิจัยไดคัดแยกคุณสมบัติของ เศษกระดาษชนิดตางๆ ออกเปน 3 กลุมคือ เศษกระดาษที่ไมปนเปอนหมึก เศษกระดาษที่ปนเปอนหมึก และเศษกระดาษที่ปนเปอนหมึกและสารเคลือบผิว ใน การนี้ไดใชกระบวนการทดลองในการคัดแยกเพื่อคนหาลักษณะของเนื้อเยื่อกระดาษ ที่เหมาะสมกับการนําไปใชในการพัฒนาเปนบรรจุภัณฑกันกระแทกซึ่งพบวา เศษกระดาษที่ไมปนเปอนหมึกและเศษกระดาษที่ปนเปอนหมึกมีความเหมาะสมมาก ที่สุด โดยใชสูตรการผสมเศษกระดาษที่ไมปนเปอนหมึก 5 สวนผสมกับเศษกระดาษ ที่ปนเปอนหมึก 4 สวนบดผสมใหเปนเนื้อเดียวกันแลวนําไปผสมกับเสนใยกลวยโดย ใชอัตราสวนในการผสมเปน เนื้อเยื่อกระดาษ 5 สวนเสนใยกลวย 3 สวนบดผสมให เปนเนื้อเดียวกันแลวนําไปเทและกดเนื้อเยื่อกระดาษลงในแมพิมพชั้นนอกและแม พิมพชั้นในหลังจากนั้นนําเนื้อเยื่อกระดาษไปทดสอบคุณสมบัติเบื้องตน ซึ่งประกอบ ดวยการทดสอบคุณสมบัติของเนื้อเยื่อกระดาษเกี่ยวกับการซึมซับนํ้า การทนตอแรง กด การทนตอแรงดึง ผลการทดสอบพบวา เนื้อเยื่อกระดาษผานการทดสอบโดยรวม ไดในระดับดีมาก หลังจากนั้นจึงนําไปทดสอบคุณสมบัติเชิงกลโดยใชเครื่องทดสอบ การกระแทก (Impact Testing Machine) พบวา เนื้อเยื่อกระดาษสามารถตานแรง กระแทกโดยรวมไดในระดับดีมากไดสรุปผลการทดสอบ 2 ประเด็นคือ  1)  การทดสอบบรรจุภัณฑกันกระแทกชั้นนอกพบวา บรรจุภัณฑสามารถ ตานแรงกระแทกไดในสภาวะที่เหมาะสมนํ้าหนักการกระแทกที่ 0.5 กิโลกรัมความ สูงของการกระแทกคือ 0.5 เมตร จะรองรับนํ้าหนักและรับแรงกระแทกไดไมเกิน 20 กิโลกรัม ตอจุดที่ถูกกระแทก 2) การทดสอบบรรจุภัณฑกันกระแทกชั้นในพบวา บรรจุภัณฑสามารถตานแรงกระแทกไดในสภาวะที่เหมาะสมนํ้าหนักการกระแทกที่ 0.5 กิโลกรัมความสูงของการกระแทกคือ 0.5 เมตร จะรองรับนํ้าหนักและรับแรง กระแทกไดไมเกิน 10 กิโลกรัม ตอจุดที่ถูกกระแทก  ผลจากการทดลองและทดสอบวัสดุ ผูวิจัยไดนํามาใชในการออกแบบ เปนบรรจุภัณฑกันกระแทกทั้งบรรจุภัณฑชั้นในและบรรจุภัณฑชั้นนอกโดยทดลอง ใชกับกลุมผลิตภัณฑเครื่องปนดินเผาและงานเซรามิกในเขตพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานี

 

This research to design and development of cushioning packaging from waste paper that the three main objectives. 1) study and analyze the quantity and type of paper in order to try and develop the packaging cushions. 2) study and analysis that will be used packaging cushions. 3) design and develop to package cushioning the study focused on design and development, packaging, cushioning to suit the needs of cushioning products, as well as to add value and reduce losses. Transport for products that are fragile and easily broken.This study is a qualitative and experimental research study that the population sample used in this study is the operator on the production of pottery and ceramic in the Ubonratchathani provinces which were obtained from the sampling. This study is a qualitative research study and experimental research. The population in this study is the operator on the production of pottery and ceramic production in the UbonRatchathani provincethree groups. The results showed that the amount of paper left over from the production and use in printing, paper and other agencies were on average not less than 50 kg per day per unit.After analyzing the properties of waste paper sorting different types of waste such as paper, ink, paper is not contaminated, contaminated ink and paper scraps contaminated ink and coating. By screening for tissue paper to fi nd the right pieces of paper, ink and paper debris does not contaminate contaminated ink is the most feasible.The formulation Scrap paper is not contaminated ink5ingredients contaminated with waste paperink mixing 4 parts homogeneous, then mixed with banana fi bers.The ratio of the mixture into paper tissues 5 part 3 of banana fi bers mixed into a homogeneous, then poured into molds and pressed paper outer and inner mold. After the tissue paper to test the basic features, such as the absorption of water to withstand the pressure, the tensile strength. The test results showed that the tissue paper through the overall test was very good then, to test the mechanical properties by using shock test (Impact Testing Machine) tissue paper can withstand shocks, have very good confi dence which test results are two important ways. First, testing, packaging, cushioning layer outside the packaging can withstand shocks in optimum condition, weight, cushioning, 0.5 kg of the height of the bumps is 0.50 meters to support the weight and impact up to 20 kg per point.Second, testing, packaging, cushioning layer in the packaging can withstand shocks in optimum condition, weight, cushioning, 0.5 kg of the height of the bumps is 0.50 meters to support the weight and impact up to10 kg per point. The results of the experiment and the researchers have tested the material used in the design of packaging, packaging, cushioning the inner and outer packaging by product groups experiment with pottery and ceramics in UbonRatchathani province. 

Article Details

How to Cite
พวงบุตร Pungboot ป. P. (2016). การออกแบบและพัฒนาบรรจุภัณฑกันกระแทกจากเศษกระดาษ Design and Development of Resistant Packaging types from Scrap Paper. Journal of Fine and Applied Arts Khon Kaen University, 8(1), 279–300. Retrieved from https://so02.tci-thaijo.org/index.php/fakku/article/view/65490
Section
Research Articles