Practice as Research in Performance: การวิจัยสรางสรรคดานศิลปะการแสดง

Main Article Content

ธนัชพร Tanatchaporn กิตติกอง Kittikong

Abstract

บทความนี้มีจุดประสงคเพื่อทบทวนความเขาใจและตั้งขอสังเกตตอกรอบ การวิจัยทางดานศิลปกรรมโดยเฉพาะทางดานศิลปะการแสดงตามแนวทางของ สํานักงานคณะกรรมการการวิจัยแหงชาติ (วช.) โดยชี้ใหเห็นถึงชองวางที่เกิดขึ้นใน กรอบการวิจัยภายใตสาขานาฏศิลปที่คําวา ศิลปะการแสดง ยังคงถูกบีบรัดในดาน รูปแบบและแนวความคิด ซึ่งมีความแตกตางจากกรอบการวิจัยทางสาขาทัศนศิลป ที่เปนเพียงการตั้งกรอบแนวคิดอยางหลวมๆ บนกระบวนการ กอใหเกิดความเหลื่อ มลํ้าทางความคิดรวมไปถึงความเขาใจที่อาจคลาดเคลื่อนซึ่งจะสงผลกระทบตอ โอกาสการพัฒนางานศิลปะการแสดงของไทยในอนาคต ถึงแมวาผลงานของศิลปน ไทยในสาขานาฏศิลปหรือกลุมศิลปะการแสดงตางๆ ในปจจุบันมีการพัฒนาและ เติบโตอยางรวดเร็วผานแนวคิดใหมๆ รูปแบบและวิธีการที่หลากหลาย ทั้งในแนวทาง ของศิลปะการละครและการเคลื่อนไหวประเภทอื่นๆ ตั้งแตงานอนุรักษ งานสรางสรรค ที่ตอยอดจากงานอนุรักษ งานในรูปแบบผสมผสานรวมสมัย จนถึงงานแนวทดลอง แตการยอมรับกระบวนการสรางสรรคผลงานศิลปะเหลานี้วาเปนที่มาซึ่งองคความ รูใหม ใหเทียบเทากับรูปแบบวิธีวิจัยในแนวทางของวิทยาศาสตรนั้น ยังคงเปนเรื่อง ใหมและเปนที่ถกเถียงกันอยางมาก บทความชิ้นนี้จึงไดทบทวนและอภิปรายกระบวน ทัศนองคความรูทางการวิจัยจากฐานปฏิบัติ (Practice as Research) โดยเนนทาง ดานศิลปะการแสดง เพื่อเปดพื้นที่ในการนําเสนอแนวทางและเงื่อนไขเพื่อเปนภารกิจ รวมในการพัฒนาองคความรูดานศิลปะการแสดงของไทยอยางแทจริงตอไป

 

This article reviews a current understanding of performance/ practice as research in Thailand. The study focuses on the notion of research into performing arts and through performance practice according to the National Research of Thailand. The big gap between defi nitions of performing arts (natya-silp) and visual arts given by National Research of Thailand to artistic research is one of the main concerns. Although, the Thai practices of performing arts have been well established in many forms range from traditional-based, contemporary-style driven, or experimental-based, a performance as research is still new to Thai research community. Here, I observe the issues such as theory of knowledge in performance practice and performance-based, performance-led research methodology. I anticipate this article to bring the discussion of practice as research in performing arts that would allow and encourage Thai performance practitioners and scholars to be in researchers’ role of their own practices. To further develop and produce a great contribution to the Thai performance practice that research is performance.

Article Details

How to Cite
กิตติกอง Kittikong ธ. T. (2016). Practice as Research in Performance: การวิจัยสรางสรรคดานศิลปะการแสดง. Journal of Fine and Applied Arts Khon Kaen University, 8(1), 107–130. Retrieved from https://so02.tci-thaijo.org/index.php/fakku/article/view/65359
Section
Research Articles