บทเพลงอันเนื่องมาจากงานพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว “La Procession” A composition inspired by the memory of the state funeral of King Chulalongkorn

Main Article Content

ชูวิทย Choowit ยุระยง Yurayong

Abstract

ดนตรีตะวันตกในยุคอิมเพรสชันนิสมไดมีการนําแนวทางแบบ เอ็กโซติกซิสม (Exoticism) หรือ “ลัทธินิยมของนอก” มาใชสรางสรรคดนตรีรูปแบบใหม หลังจาก ที่ดนตรีแบบแผนยุโรปไดเขาสูจุดอิ่มตัวในปลายยุคโรมันติก ศูนยกลางของอิมเพรส ชันนิสมนั้นตั้งอยูที่ประเทศฝรั่งเศส ซึ่งนักประพันธเพลงหลายคนก็ไดหันมาทําการ ปรุงแตงงานประพันธของดวยองคประกอบทางดนตรีแปลกใหมที่ไดรับแรงบันดาล ใจจากดนตรีตะวันออก ในชวงแรก วัฒนธรรมดนตรีที่มีอิทธิพลมากที่สุด ไดแก ตุรกี อาหรับ และ จีน ซึ่งเปนที่รูจักในหมูนักดนตรียุโรปอยูกอนแลว จนกระทั่งยูแฌน จินดา กราสซี (Eugène Cinda Grassi) ไดนํางานดนตรีไทยมาประยุกตใชกับดนตรีแบบแผนของ ฝรั่งเศสเปนครั้งแรก โดยเขาไดประพันธบทเพลงในลักษณะดังกลาวไวหลายชุดดวย กัน ในบทความนี้บทประพันธที่ไดยกมาทําการศึกษาก็คือ La procession ที่ไดรับ แรงบันดาลใจจากขบวนแหพระศพของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว จากบทเพลงชุด “สามบทกวีพุทธศาสนา” (Trois poèmes bouddhiques) โดย วิเคราะหจากมุมมองของลักษณะดนตรีไทยและตะวันตก รวมไปถึงการแปรทํานอง แบบไทยสําหรับการบรรเลงดวยเครื่องดนตรี และวิทยาการแบบตะวันตก ผลการวิจัยพบวา กราสซี ไดแสดงความเขาใจในดนตรีไทยและแตกฉานใน แนวทางดนตรีตะวันตก ทําใหบทประพันธมีความนาสนใจในการผสมกลมกลืนของ วัฒนธรรมดนตรีที่แตกตาง งานวิจัยชิ้นนี้แสดงใหเห็นวา เมื่อถึงจุดหนึ่ง ชาวตะวัน ตกเองก็พบกับทางตัน และตองหันมาพึ่งโลกตะวันออกในการพัฒนาศิลปวัฒนธรรม ของตน โดยเฉพาะอยางยิ่งสยามประเทศ ในกรณีนี้ 

 

During the era of impressionism, western art music adopted the concept of “exoticism” in developing new varieties of music as soon as it had become saturated with its own material. Centre of impressionism was situated in France where number of composers started searching for new musical elements from music cultures in the orient. In the beginning, the most infl uential music cultures were Turkey, Arabia and China, which Europeans had already been familiar with. Later, it was Eugène Cinda Grassi who introduced Thai music to art music in France through many pieces of his composition. Among them, this paper selects the composition La procession from the collection Trois poèmes bouddhiques, which is inspired by the royal funeral of His Majesty the King Chulalongkorn. The study concerns comparison between Thai and western music, as well as arrangement of Thai melody in order to suit characters of Western instruments and their expression. This paper illustrates Grassi’s excellent knowledge and understanding of both Thai and western music. Consequently, his composition refl exes interesting mixture of different music cultures. The message of this paper shows that at one point, Europeans themselves faced a road block and needed help from the oriental world, in this case Siam, in developing their own music cultures. 

 

Article Details

How to Cite
ยุระยง Yurayong ช. C. (2016). บทเพลงอันเนื่องมาจากงานพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว “La Procession” A composition inspired by the memory of the state funeral of King Chulalongkorn. Journal of Fine and Applied Arts Khon Kaen University, 8(1), 26–45. Retrieved from https://so02.tci-thaijo.org/index.php/fakku/article/view/65155
Section
Research Articles