การศึกษาสังคีตลักษณ และแนวคิดการดนกีตาร ในเพลงแจส ของเวส มอนทโกเมอรี่

Main Article Content

กฤษฎา Kritsada วงศคําจันทร Wongkhamch

Abstract

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษา 1) เพื่อศึกษาสังคีตลักษณในเพลง แจสของเวส มอนทโกเมอรี่ 2) เพื่อศึกษาแนวคิดที่ใชในการการดนกีตารในเพลงแจส ของเวส มอนทโกเมอรี่จากบทเพลงที่ประพันธและบรรเลงโดย เวส มอนทโกเมอรี่ 8 เพลง ไดแก 1) Mi Cosa 2) Sundown 3) Cariba 4) Fried Pies 5) Four on Six 6) Missile Blues 7) O.G.D. 8) West Coast Blues จากการวิเคราะหสังคีตลักษณในบทเพลงดังกลาวพบวาทั้ง 8 บทเพลงใช  สังคีตลักษณแบบ ทํานองหลักและการแปร (Theme and variation) ในสวนของทํานองหลัก พบวาไดมีการสรางและพัฒนาทํานองหลักโดยใชวิธีการ พัฒนาที่หลากหลายไดแก การสรางและพัฒนาทํานองหลัก ดวยการซํ้า (Repetition) การใชวิธีการพัฒนาทํานองดวยการปรับระดับเสียง (Transposition) การสอดแทรก แนวความคิดใหม (New Idea) เพิ่มเติมสลับกับทํานองหลักการขยายทํานองดวย การซีเควนซ (Sequence) การสรางประโยคเพลงในลักษณะ ถาม – ตอบ (Call and Response) การพัฒนาโมทีฟดวยการตัดโนตในโมทีฟหลักบางตัวออก (Motif Omission) การดัดแปลงกระสวนจังหวะของโมทีฟ (Motif Transformation) การ ขยายแนวคิดโดยการสรางทํานองใหมเพื่อสรางความแตกตาง (Contrast) เปนตน การประสานโดยสวนใหญเปนระบบประสานเสียงแบบ โทนาลิตี มีเพียงทอน A ในเพลง Micosa ที่มีการประสานเสียงแบบ แพนไดอาโทนิค (Pandiatonic) ในการ ดําเนินคอรดพบการดําเนินคอรดแบบ “เวส โคสท เชนจ” (Wes Coast Changes) ซึ่งคิดคนและเปนเอกลักษณในการดําเนินคอรดของ เวส มอนทโกเมอรี่ สวนของการแปรทํานอง พบการแปรทํานองโดยการบรรเลงดวยวิธีดน เรียก การแปรแตละครั้งวา “คอรัส” (Chorus) ซึ่ง 1 คอรัส หมายถึงการแปร 1 ชุด พบ วาในแตละเพลงมีรูปแบบของการบรรเลงในแตละคอรัส คือสวนแรกเปนการบรรเลง ดวยการดนแบบโนตแนวเดียว (Single Notes) สวนที่สองคือการเลนแบบขั้นคู (Octave) สวนที่สามคือการเลนแบบคอรดโซโลหรือ บล็อกคอรด (Block Chords) ในการวิเคราะหการดนกีตาร พบวามีแนวคิดวิธีการดนหลักจากการ ใชการพัฒนาโมทีฟ ในลักษณะตาง ๆ โดยยึดโครงสรางของเสียงประสานควบคูไปกับการสราง แนวทํานองและจากการใช โหมด สเกล, อารเปโจ, การเคลื่อนของแนวทํานองที่แบบ โครมาติค, เอ็นโคลสเซอร, สรางแนวทํานองซอนทับลงไปบนคอรด, การเกลา 7-3, การใชโนตนอกกุญแจเสียง เปนหลัก

 

This research aims to analyze forms of Wes Montgomery’s music and to study his improvisation concepts in these 8 songs which are 1) Mi Cosa 2) Sundown 3) Cariba 4) Fried Pies 5) Four on Six 6) Missile Blues 7) O.G.D. 8) West Coast Blues The research results show that Theme and Variation form was used in all eight songs. There were various techniques which were employed in creating and developing themes which were repetition, transposition, addition of new ideas alternating with the motif, motif extension by using sequence, creation of call and response, omission of motif, transformation of motif and creation of contrast motif. All eight songs were tonal music. However, there was only section A in Mi cosa which was played in Pandiatonic. Wes Coast Changes chord progression was used. This chord progression was created by Wes Montgomery and became his unique style.  Wes Montgomery varied his melody by improvising and called each variation “Chorus” (one chorus means one variation). The fi rst section was improvised with single notes. The second section was improvised using an Octave. The third section was played using chords solo and block chords.  From guitar improvising analysis, it shows that Wes Montgomery majorly employed motivic development which kept the harmonic structure along with creating new motif. Moreover, in order to create his improvisation, he used mode, scale, arpeggio, chromatic movement, enclosure, superimpose, 7-3 resolution and outside playing. 

 

Article Details

How to Cite
วงศคําจันทร Wongkhamch ก. K. (2016). การศึกษาสังคีตลักษณ และแนวคิดการดนกีตาร ในเพลงแจส ของเวส มอนทโกเมอรี่. Journal of Fine and Applied Arts Khon Kaen University, 8(1), 1–25. Retrieved from https://so02.tci-thaijo.org/index.php/fakku/article/view/65153
Section
Research Articles