การวิเคราะห์เพลงเขมรปี่แก้วทางสักวา

Main Article Content

บุณฑริกา เจริญชินวุฒิ

Abstract

เพลงเขมรปี่แก้ว ทางสักวา ถูกดัดแปลงมาจากเพลงเขมรปี่แก้ว 3 ชั้น ของครูช้อย สุนทรวาทิน ที่เป็นต้นแบบในการวิเคราะห์เพลง ในสมัยต่อมาได้มี ครูดนตรีทำทางสักวาขึ้น 2 ท่านคือจางวางทั่ว พาทยโกศลและครูมนตรี ตราโมท ทำนองเพลงทางสักวาของครูทั้ง 2 ท่าน มีลักษณะที่คล้ายกันและแตกต่างกัน บ้างในบางวรรค ลักษณะเด่นคือ เขมรปี่แก้วทางสักวา (จางวางทั่ว พาทยโกศล) มีจุดประสงค์ในการแต่งเพื่อล้อเลียนกับเพลงเขมรไทรโยค ของสมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ แนวทางการบรรเลงเพลงเป็นแบบบังคับทางให้ บรรเลงเหมือนกันทุกเครื่องมือ ในขณะที่เพลงเขมรปี่แก้วทางสักวา (ครูมนตรี ตราโมท) มีลักษณะเด่นอยู่ที่การเพิ่มจังหวะในท่อน 2 โดยซํ้า 2 จังหวะแรกเป็น 2 ครั้ง สาเหตุ ที่ซํ้า 2 ครั้ง เพื่อให้เกิดอรรถรสของเพลงมากขึ้น จึงทำให้เพลงมีความแตกต่างกัน

 

A Musical Analysis of Thang Sakwa

Phleng Kamenphikaew Thang Sakwa, was adapted from Kamenphikaew Three folds by KruChoy Soontaravatin which is the prototype. Period later, Jangvangtua Phattayakosol and KruMontri Tramote are composed Thang Sakwa and similar and different in some paragraphs. Thang Jangvangtua Phattayakosol composed to mimic Phleng Kamensaiyok from the Prince Narisara Nuvadtiwong and plays “Bangkubthang” (The style of Thang which is the instruments play the same). While Phleng Kamenphikaew Thang Krumontri Tramote increase the rhythm in two piece and repeatedly two time because to make the song more enjoyable. Which is the songs are different.

Article Details

How to Cite
เจริญชินวุฒิ บ. (2014). การวิเคราะห์เพลงเขมรปี่แก้วทางสักวา. Journal of Fine and Applied Arts Khon Kaen University, 5(2), 96–126. Retrieved from https://so02.tci-thaijo.org/index.php/fakku/article/view/27001
Section
Research Articles