ละคร: เครื่องมือเพื่อการเรียนรู้เปลี่ยนแปลงภายใน แนวจิตตปัญญาศึกษา

Main Article Content

ชลลดา ทองทวี

Abstract

บทความนี้ มุ่งสำรวจและวิเคราะห์ กลไกและองค์ประกอบของละคร ในการ สร้างการเรียนรู้เปลี่ยนแปลงภายในแก่ผู้ชม ในแนวทางของจิตตปัญญาศึกษา คือ การ บ่มเพาะการละวางอัตตาตัวตน สู่การขยายจิต ให้เห็นการเชื่อมโยงของสรรพสิ่งมากขึ้น ทั้งนี้ ละครเป็นเครื่องมือที่ทรงพลังในการสร้างการเรียนรู้เปลี่ยนแปลงภายใน ใน ระดับฝังลึก คือการเปลี่ยนแปลงโลกทัศน์และกระบวนทัศน์ เนื่องจากละครช่วย ให้ผู้ชมได้สัมผัสเรียนรู้สารจากละคร โดยเข้าไปมีประสบการณ์ตรงร่วมกับตัวละคร ผ่านสถานการณ์จำลองในละคร จึงเป็นการเรียนรู้ในระดับฝังลึก ที่ทำให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงได้ในระดับของความเชื่อและแบบจำลองความคิดแก่ผู้ชมได้ ดังปรากฏ การนำเอาละครไปใช้เพื่อขัดเกลาจิตใจของผู้ดู ในสังคมยุคต่างๆ ตลอดมา

 

Theatre: Tool for Contemplative Education’s Self-Transformation

This article aims to explore and analyze mechanism and elements of theatre in providing contemplative education’s self-transformation for the audience: to cultivate the letting-go of ego attachment and the expansion of mind towards the embrace of interconnection of all things. Theatre is a powerful tool for self-transformation at the tacit level for the audience, that is, the transformation of worldview and paradigm. This is due to its quality of enabling the audience to have direct experience with important messages from the play through the characters’ view in simulative situation in the play. This provides the tacit level of learning which enables the transformation at the level of beliefs and mental models for the audience. It is thus found that theatre has been used for self-transformation of the audience in all societies and periods throughout history.

Article Details

How to Cite
ทองทวี ช. (2014). ละคร: เครื่องมือเพื่อการเรียนรู้เปลี่ยนแปลงภายใน แนวจิตตปัญญาศึกษา. Journal of Fine and Applied Arts Khon Kaen University, 6(1), 112–129. Retrieved from https://so02.tci-thaijo.org/index.php/fakku/article/view/26950
Section
Research Articles