A Study Cultural Dimension and local Wisdom for Industrial Crafts Design

Main Article Content

Kittipong Keativipak

Abstract

Example of cultural dimension and local wisdom approach concept to industrial crafts design was part of the research on “The design and development of industrial crafts products from the integration of local wisdom for increasing economic values”. The objective is to obtain industrial crafts products from the integrated and application of local wisdom to create a new industrial crafts product in promoted local arts and crafts to have more products and obtained products that can be developed further including cooperated between the communities in the production of works. Research methodology: This research was qualitative and there are 3 main components in this part. First, Studied research data using Individual Depth Interview and focus group methods. Second, Participatory action research methods for design developed, and selected the arts and crafts community groups in Lampang provinces, amount 4 communities by using the Purposive Sampling method. Third, Questionnaires based for evaluated the studied and opinions of 500 people on industrial crafts products. Results: 1) Focus on the development and creation of new products. The concept of creativity is community product development through knowledge and innovation to become an interesting industrial crafts product different from the original product and creating market opportunities.2) Example of cultural dimension and local wisdom approach concept to industrial crafts products from industrial crafts design framework, amount 2 products by using the cultural dimension of Howdah and Lanna art and crafts. 3) Assessing opinions about industrial crafts products by using the cultural dimension and local wisdom approach at the best level (mean = 4.59).

Article Details

How to Cite
Keativipak, K. . (2021). A Study Cultural Dimension and local Wisdom for Industrial Crafts Design. Journal of Fine and Applied Arts Khon Kaen University, 13(2), 55–84. Retrieved from https://so02.tci-thaijo.org/index.php/fakku/article/view/242520
Section
Research Articles
Author Biography

Kittipong Keativipak, Faculty of fine and applied art, Thammasat university

งานวิจัยเดี่ยว (Solo Researches)
1) การศึกษาและพัฒนาการนำเอาเส้นใยพืชผักตบชวามาประยุกต์เข้ากับการดุนลายอลูมิเนียมเพื่อนำมาออกแบบเครื่องเรือนในสไตล์ล้านนา
แหล่งทุน: กองทุนวิจัยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ 2552
2) การศึกษาและพัฒนา การนำผ้าฝ้ายทอมือ มาประยุกต์ใช้ในการสร้างสรรค์เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ กรณีศึกษา: กลุ่มหมู่บ้านผ้าฝ้ายทอมือบ้านดอนหลวง อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน
แหล่งทุน: กองทุนวิจัยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ 2555
3) การพัฒนาผลิตภัณฑ์หัตถอุตสาหกรรมไม้แกะสลักและอัตลักษณ์แบรนด์เพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ กรณีศึกษา หมู่บ้านแกะสลักบ้านหลุก ต.นาครัว อ.แม่ทะ จ.ลำปาง
แหล่งทุน: สำนักงานจังหวัดลำปาง ประจำปีงบประมาณ 2557
4) โครงการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์หัตถอุตสาหกรรม จากการผสมผสานภูมิปัญญาท้องถิ่นที่หลากหลาย เพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ / Design and Development Industrial Crafts Products from integration of local wisdom for Increasing Economic Values
แหล่งทุน: “ทุนพัฒนานักวิจัยสู่ตำแหน่งวิชาการเพื่อชุมชนและสังคม” ภายใต้ความร่วมมือระหว่าง สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) และมูลนิธิมั่นพัฒนา ประจำปี 2561

งานวิจัยกลุ่ม (Group Researches)
1) “งานวิจัยไทบ้าน” โครงการ การส่งเสริมงานวิจัยไทบ้านเพื่อพัฒนางานหัตถกรรมจากใบหญ้าแฝก ในหัวข้อ เรื่อง โครงการออกแบบโคมไฟเพื่อการตกแต่งโดยใช้หญ้าแฝกผสมผสานกับวัสดุในท้องถิ่น
แหล่งทุน: โครงงานวิจัยนี้ได้รับการสนับสนุนจากการประกวดการพัฒนาและรณรงค์การใช้หญ้าแฝกอัน เนื่องมาจากพระราชดำริ ปี 2552 บริษัท ปตท.จำกัด (มหาชน)
2) การพัฒนาผลิตภัณฑ์โดยใช้วัสดุเศษหินอันเกิดจากกระบวนการผลิตครกหินเพื่อการส่งเสริมการพัฒนาผลิตภัณฑ์, เศรษฐกิจ, สังคม, คุณภาพชีวิต, และการใช้ทรัพยากรธรรมชาติให้เกิดประโยชน์สูงสุด:
กรณีศึกษา ชุมชนบ้านไร่ศิลาทอง ต.พิชัย อ.เมือง จ.ลำปาง แหล่งทุน: งบแผ่นดิน แผนงานบริหารจังหวัด จังหวัดลำปาง 2554
3) โครงการเปิดตลาดสู่ภูมิภาคอาเซียน การอบอรมพัฒนาผู้ประกอบการ OTOP ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ และเพิ่มช่องทางการตลาดอาเซียนแหล่งทุน: โครงการกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 (สำนักงาน พัฒนาชุมชนจังหวัดแม่ฮองสอน) ประจำปีงบประมาณ 2558
บทความในวารสารวิชาการ (Articles)
บทความวิชาการ (Academic Article)
1) ผักตบชวาสู่การออกแบบเครื่องเรือน / ศิลปกรรมสาร วารสารวิชาการคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 พ.ศ.2554
2) การดุนลายอลูมิเนียมสู่แนวทางการออกแบบผลิตภัณฑ์ / ศิลปกรรมสาร วารสารวิชาการคณะศิลปกรรม ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 พ.ศ.2556
3) ศิลปวัฒนธรรมในประเทศกัมพูชา / ชุดองค์ความรู้เกี่ยวกับอาเซียน ชุดที่ 4 ศิลปวัฒนธรรมในกลุ่ม ประเทศอาเซียนและญี่ปุ่น (ศูนย์ศึกษาวัฒนธรรมอาเซียน+1 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลำปาง /
ตีพิมพ์เมื่อ มกราคม พ.ศ. 2558
4) ศิลปวัฒนธรรมในประเทศญี่ปุ่น / ชุดองค์ความรู้เกี่ยวกับอาเซียน ชุดที่ 4 ศิลปวัฒนธรรมในกลุ่มประเทศอาเซียนและญี่ปุ่น (ศูนย์ศึกษาวัฒนธรรมอาเซียน+1 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลำปาง / ตีพิมพ์เมื่อ มกราคม พ.ศ. 2558
5) การพัฒนาผลิตภัณฑ์ โดยใช้วัสดุเศษหินอันเกิดจากกระบวนการผลิตครกหิน เพื่อส่งเสริมการพัฒนา ผลิตภัณฑ์เศรษฐกิจ สังคม คุณภาพชีวิต และการใช้ทรัพยากรธรรมชาติให้เกิดประโยชน์สูงสุด
(กรณีศึกษาชุมชนบ้านไร่ศิลาทอง ต.พิชัย อ.เมือ จ.ลำปาง) / ศิลปกรรม วัฒนธรรม และการออกแบบ ครั้งที่ 2 (วารสารมหาวิทยาลัยขอนแก่น) / ตีพิมพ์เมื่อ มิถุนายน พ.ศ. 2559
6) การพัฒนาผลิตภัณฑ์หัตถอุตสาหกรรมไม้แกะสลัก เพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ กรณีศึกษา หมู่บ้านแกะสลักบ้านหลุก ต.นาครัว อ.แม่ทะ จ.ลำปาง / ศิลปกรรม วัฒนธรรม และการออกแบบ ครั้งที่ 2
(วารสารมหาวิทยาลัยขอนแก่น) / ตีพิมพ์เมื่อ มิถุนายน พ.ศ. 2559
7) การศึกษาและพัฒนาการนำเอาเส้นใยพืชผักตบชวามาประยุกต์เข้ากับการดุนลายอลูมิเนียม เพื่อนำมา ออกแบบเครื่องเรือนในสไตล์ล้านนา / ศิลปกรรม วัฒนธรรม และการออกแบบ ครั้งที่ 2
(วารสารมหาวิทยาลัยขอนแก่น) / ตีพิมพ์เมื่อ มิถุนายน พ.ศ. 2559
8) เทคนิคการสัมมนาอิงผู้เชี่ยวชาญ Connoisseurship Technique in Design / วารสาร Rajabhat Journal of Sciences, Humanities & Social sciences
มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูล สงคราม ปีที่ 18 ฉบับที่ 2 / ตีพิมพ์เมื่อ กรกฎาคม พ.ศ. 2560
9) พัฒนาด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์โดยใช้กรอบแนวคิดการออกแบบหัตถอุตสาหกรรม Industrial Crafts Design Framework (Grow-Reborn) / วารสารศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 / ตีพิมพ์เมื่อ ตีพิมพ์เมื่อ กรกฎาคม พ.ศ. 2560
10) ออกแบบหัตถอุตสาหกรรม (กวม) / วารสารสหวิทยาการ วิทยาลัยสหวิทยาการมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 / ตีพิมพ์เมื่อ ตุลาคม พ.ศ. 2561
11) แนวคิดการนำมิติทางวัฒนธรรมสู่การออกแบบสร้างสรรค์ที่สับสน /วารสารสถาบันวัฒนธรรมและ ศิลปะ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปี่ที่ 21 ฉบับที่ 2
บทความวิจัย (Research Article)
1) การศึกษาและพัฒนาการนำเอาเส้นใยพืชผักตบชวามาประยุกต์เข้ากับการดุนลายอลูมิเนียมเพื่อนำมา ออกแบบเครื่องเรือนในสไตล์ล้านนา / ศิลปกรรมสาร วารสารวิชาการคณะศิลปกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 พ.ศ.2554
2) การพัฒนาผลิตภัณฑ์ โดยใช้วัสดุเศษหินอันเกิดจากกระบวนการผลิตครกหิน เพื่อส่งเสริมการพัฒนา ผลิตภัณฑ์ เศรษฐกิจ สังคม คุณภาพชีวิต และการใช้ทรัพยากรธรรมชาติให้เกิดประโยชน์สูงสุด
(กรณีศึกษาชุมชนบ้านไร่ศิลาทอง ต.พิชัย อ.เมือ จ.ลำปาง) / หน้า 1-53 ศิลปกรรมสาร วารสารวิชาการ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีที่ 10 เล่มที่ 1 2558
3) การพัฒนาผลิตภัณฑ์หัตถอุตสาหกรรมไม้แกะสลัก เพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ กรณีศึกษา หมู่บ้าน แกะสลักบ้านหลุก ต.นาครัว อ.แม่ทะ จ.ลำปาง / หน้า 19-69 ศิลปกรรมสาร วารสารวิชาการคณะ
ศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ปีที่ 10 เล่มที่ 2 2558
4) การศึกษาและพัฒนาการนำผ้าฝ้ายทอมือ มาประยุกต์ใช้ในการสร้างสรรค์ เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ กรณีศึกษากลุ่มหมู่บ้านผ้าฝ้ายทอมือบ้านดอนหลวง อ.ป่าซาง จ.ลำพูน / ศิลปกรรมสาร
วารสารวิชาการคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีที่ 11 เล่มที่ 1 2559
5) Study of Paradigm and Theories that are Factors Influencing the Development and Creation of Industrial Crafts Products in Thailand / Mediterranean Journal of SocialSciences / Vol 10 No 5 September 2019.
การนำเสนอผลงานในที่ประชุมวิชาการ (Academic Conference)
2553 เข้าร่วมประชุมวิชาการ ระดับนานาชาติและเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ UNSW International Research Workshop ณ the University of New South Wales ประเทศออสเตรเลีย
2555 นำเสนอผลงานโปสเตอร์ จากงานวิจัยออกแบบเครื่องเรือนในสไตล์ล้านนาจากนำเอาเส้นใยพืช ผักตบชวามาประยุกต์เข้ากับการดุนลายอลูมิเนียม ในงานวันวิจัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
2557 เข้าร่วมการประชุมวิชาการระดับชาติ “ศิลปกรรม วัฒนธรรม และการออกแบบ ครั้งที่ 2” คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ณ.โรงแรมเจริญธานี จ.ขอนแก่น
2559 เข้าร่วมการประชุมวิชาการระดับชาติ “การเรียนรู้เชิงลึก Active Learning : Classrooms of the Future” มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ณ.อาคารปฏิบัติการเทคโนโลยีและนวัตกรรม จ.นครศรีธรรมราช
2560 เข้าร่วมการประชุมวิชาการระดับชาติ “25ปี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลำปาง / ปัญจวีสวรรษ ธรรมศาสตร์ลำปาง นำทางประชา พัฒนาสู่สากล” ณ.อาคารเรียนรวม 5 ชั้น มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลำปาง
2561 เข้าร่วมการประชุมการนำเสนอ “โครงการพัฒนานักวิจัยสู่ตำแหน่งวิชาการเพื่อชุมชนละสังคม” ห้องประชุม 1 ชั้น 14 สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ฝ่ายชุมชนและสังคม
2561 เข้าร่วมนำเสนอผลงานรางวัลสภาวิจัยแห่งชาติ : รางวัลผลงานประดิษฐ์คิดค้น ประจำปีงบประมาณ 2562 (สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ)
2562 เข้าร่วมการประชุมการนำเสนอ “พะเยาวิจัย ครั้งที่ 8” มหาวิทยาลัยพะเยา จังหวัดพะเยา
2562 “Principles of Thought to Adopt Cultural Dimension into Creative Design” the Seventeenth International Conference on Developing Real-Life Learning
Experiences (DRLE 2019), May 30th - 31st , 2019 at King Mongkut's Institute of Technology Ladkrabang.
2562 “Study of paradigm and theories that are factors influencing the development and creation of industrial crafts” the Seventeenth International Conference on Developing Real-Life Learning Experiences (DRLE 2019), May 30th - 31st , 2019 at King Mongkut's Institute of Technology Ladkrabang.

References

กรมการพัฒนาชุมชน. (2562). คู่มือแนวทางและหลักเกณฑ์การ คัดสรรสุดยอด หนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ไทย. กรุงเทพฯ : สำนักส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นและวิสาหกิจชุมชน กระทรวงมหาดไทย.

กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทวงอุตสาหกรรม. (2543). รูปแบบผลิตภัณฑ์หัตถกรรมไทย. กรุงเทพฯ : กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม.

กิตติพงษ์ เกียรติวิภาค. (2560). พัฒนาด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์โดยใช้กรอบแนวคิดการออกแบบหัตถอุตสาหกรรม. วารสารศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 9(2), 333-366.

กิตติพงษ์ เกียรติวิภาค. (2562). แนวคิดการนำมิติทางวัฒนธรรมสู่การออกแบบสร้างสรรค์ที่สับสน. วารสารสถาบันวัฒนธรรมและศิลปะ, 21(2), 20-41.

กิตติพงษ์ เกียรติวิภาค. (2563). จากงานวิจัยโครงการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์หัตถอุตสาหกรรมจากการผสมผสานภูมิปัญญาท้องถิ่นที่หลากหลายเพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ. กรุงเทพฯ : ฝ่ายชุมชนและสังคม สำนักกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. (2549). โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ต้นแบบแนวทางล้านนา: เอกสารประกอบการสัมมนาเรื่องโครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ของใช้ของตกแต่งบ้านแนวทางล้านนา. เชียงใหม่ : คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ประพนธ์ เรืองณรงค์. (2550). เล่าเรื่องเมืองใต้: ภาษา วรรณกรรม ความเชื่อ. กรุงเทพฯ : สถาพรบุ๊คส์.

ปิยะวัติ บุญ-หลง, กาญจนา แก้วเทพ, และบวร ปภัสราทร. (2559). งานวิจัยเพื่อสังคม: หลักการและวิธีการ. กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

วรรณี แกมเกตุ. (2555). วิธีวิทยาการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วัชรินทร์ จรุงจิตสุนทร. (2548). หลักการและแนวคิดการออกแบบผลิตภัณฑ์. กรุงเทพฯ : แอ๊ปป้า พริ้นท์ติ้ง.

ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ. (2557). เจาะเทรนด์โลก. ค้นเมื่อ 10 ธันวาคม 2562, จาก http://www.tcdc.or.th/trend2014/index2-v1.php

ศูนย์อนุรักษ์ช้างไทย. (2552). ศูนย์อนุรักษ์ช้างไทย. ค้นเมื่อ 10 ธันวาคม 2562, จาก http://www.lampang.go.th/travel/weblp/page/page10.html

สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยชียงใหม่. (2557). กูบหลังช้าง. ค้นเมื่อ 10 ธันวาคม 2562, จาก http://library.cmu.ac.th/ntic/lannalacquerware/lacquerware/436

หอภาพถ่ายล้านนา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. (2556). กูบหลังช้างหรือสัปคับช้าง. ค้นเมื่อ 25 ธันวาคม 2562, จาก http://cmhop.finearts.cmu.ac.th/product/ช้างที่บรรทุกหรือสัปคับ