ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการสอนของผู้สอน ระดับอุดมศึกษาด้านดนตรี

Main Article Content

ณิชา พัฒนานนท์
ประณต มีสอน
กฤษฎ์ นิรมิตธรรม

บทคัดย่อ

          งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสามารถในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการสอนของผู้สอนระดับอุดมศึกษาด้านดนตรี ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณ โดยใช้วิธีเก็บข้อมูลด้วยการสำรวจโดยการใช้แบบสอบถามออนไลน์ มีกลุ่มตัวอย่างได้แก่อาจารย์ประจำหลักสูตรดนตรี จำนวน 97 คน
        ผลการวิจัยพบว่า ในการประเมินตนเองของอาจารย์ผู้สอนสาขาดนตรีในระดับอุดมศึกษา พบว่าส่วนใหญ่อยู่ในระดับ ผู้นำเทคโนโลยีไปใช้ในการเรียนการสอน โดยมีค่าเฉลี่ยของทุกด้านรวมกันเท่ากับ 3.67 ผลของการศึกษาทิศทางของการศึกษายุคดิจิทัลที่ส่งผลต่อการพัฒนาหลักสูตรดนตรีระดับอุดมศึกษา พบว่าอาจารย์ผู้สอนส่วนใหญ่มีความเห็นว่า ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีไม่ได้เป็นคำตอบของคุณภาพการจัดการศึกษา ควรสอนวิธีใช้ การวิเคราะห์สื่อดิจิทัล เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้พื้นฐานในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินแหล่งข้อมูลดิจิทัลได้อย่างเหมาะสม

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม. (2563). นโยบายและยุทธศาสตร์การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม พ.ศ. 2563-2570. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ และ สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม.

MarketingOops!. (2562). การศึกษาไทยต้องทรานส์ฟอร์ม! ถอดกรณีศึกษา “ธรรมศาสตร์” ปฏิวัติการเรียน-การสอบยุคดิจิทัล. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 5 มีนาคม 2566. แหล่งที่มา: https://www. marketingoops.com/news/biz-news/thammasat-university-digitaltrans formation/.

Haning, M. (2020). Identity formation in music teacher education: The role of the

curriculum. International Journal Of Music Education. 39 (1), 39-49. https:// doi.org/10.1177/0255761420952215

Myers, D. (2016). Creativity, diversity, and integration: Radical change in the bachelor of

music curriculum. Arts And Humanities In Higher Education. 15 (3-4), 293-307.

https://doi.org/10.1177/1474022216647378

Penick, B. (2020). College Is About To Change Forever--And Music Education Is Not

Immune.Forbes.https://www.forbes.com/sites/brianpenick/2020/05/27/college-is about-to-change-forever--and-music-education-is-not-immune/?sh=214e43774a6f.

Ramaswamy, N. (2021). Dawn of a digital era in education: Why it is Crucial to be mindful of

the gaps in the digital experience. The Financial Express. https://www. financialexpress.com/opinion/dawn-of-a-digital-era-in-education-why-it-is-crucial-to-be-mindful-of-the-gaps-in-the-digital-experience/2026588/.

Thai Post . (2562). โมเดล 'มหาวิทยาลัยดิจิทัล' : ทุบทิ้งของเก่าอย่างสร้างสรรค์. อิสรภาพแห่งความคิด. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 5 มีนาคม 2566. แหล่งที่มา: https://www.thaipost.net/main/ detail/41058.

Taylor, C., & Bovill, C. (2017). Towards an ecology of participation: Process philosophy and

co-creation of higher education curricula. European Educational Research

Journal, 17(1), 112-128. https://doi.org/10.1177/1474904117704102

Techsauce team. (2563). เจาะลึกการปรับตัวครั้งใหญ่ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์สู่โลกดิจิทัล ขับเคลื่อนด้วย Big Data ต่อยอดด้วย AI. Techsauce. https://techsauce.co/tech-and-biz/digital-transformation-ku-big-data-ai.