ความต้องการจำเป็นในการพัฒนาการบริหารวิชาการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยตามแนวคิดผู้เชี่ยวชาญการเรียนรู้ตลอดชีวิต

Main Article Content

วิทวัช กุยแก้ว
พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์
สุกัญญา แช่มช้อย

บทคัดย่อ

          การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความต้องการจำเป็นในการพัฒนาการบริหารวิชาการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยตามแนวคิดผู้เชี่ยวชาญการเรียนรู้ตลอดชีวิต โดยวิธีการวิจัยเชิงปริมาณ โดยเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง คือ ศูนย์ กศน.อำเภอ/เขต จำนวน 280 แห่งจากทั้งหมด 928 แห่ง ผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอ/เขต ข้าราขการครู และครู กศน.ตำบล รวมทั้งสิ้น จำนวน 840 คน เครื่องมือที่ ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของการบริหารวิชาการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยตามแนวคิดผู้เชี่ยวชาญการเรียนรู้ตลอดชีวิตที่มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.984 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ความต้องการจำเป็น ผลการวิจัยพบว่า ด้านการพัฒนาหลักสูตร มีความต้องการจำเป็นในการพัฒนามากที่สุด (PNImodified = 0.121) รองลงมาคือ ด้านการวัดและประเมินผล (PNImodified = 0.112) และด้านการจัดการเรียนรู้ (PNImodified = 0.111) ตามลำดับ และเมื่อพิจารณาตามความเชี่ยวชาญการเรียนรู้ตลอดชีวิต องค์ประกอบย่อยที่มีค่าความต้องการจำเป็นในการพัฒนาสูงสุด คือ ผู้เรียนอย่างมีกลยุทธ์ (Strategic learner) และผู้เรียนที่พึ่งตนเอง (Independent learner) มีค่าความต้องการจำเป็นในการพัฒนาต่ำที่สุด


 


 

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2550). กฎกระทรวงศึกษาธิการ กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษา พ.ศ.2550. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 8 มกราคม 2566. แหล่งที่มาhttp://backoffice.onec.go.th/uploaded/Category/Laws/RuleMetDistEdMnt2550-02-12-2010.pdf

กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา. (2564). กสศ.สำรวจสถานการณ์เด็กหลุดออกนอกระบบหลังเปิดเทอมใหม่. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 10 มกราคม 2566. แหล่งที่มา https://www.eef.or.th/news-eef-explore-children-falling-out-of-system-after-new-semester/

จุลศักดิ์ สุขสบาย,มนตา ตุลย์เมธาการ, วิไลลักษณ์ ลังกา, และ อิทธิพัทธ์ สุวทันพรกูล. (2560). การพัฒนาแบบวัดคุณลักษณะผู้เรียนรู้ตลอดชีวิตของผู้เรียนระดับประถมศึกษาปีที่ 4-6. วารสารเกษมบัณฑิต. 18 (1), 162–174.

จิตต์ภิญญา ชุมสาย ณ อยุธยา (2551). ลักษณะผู้เรียนรู้ตลอดชีวิตของนิสิตนักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปีสุดท้าย. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษาดุษฎีบัณฑิต. สาขาวิชาการอุดมศึกษา. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ชูศักดิ์ เอื้องโชคชัย, อาชัญญา รัตนอุบล และสุวิธิดา จรุงเกียรติกุล. (2559). คุณลักษณะการเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตสำหรับเยาวชนไทย. วารสารครุศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 44 (4), 63-80.

ธเนตร หลงศรี และวลัยพร ศิริภิรมย์. (2015). การบริหารงานวิชาการเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกรุงเทพมหานคร.วารสารอิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา. 10 (2), 602-616.

พิณสุดา สิริธรังศรี. (2559). ระบบการสะสมหน่วยการเรียนรู้ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน. สุทธิปริทัศน์. 30 (93), 250-262.

มนัสวินี ณรงคชัย, นวัตกร หอมสิน และ พงษนิมิตร พงษภิญโญ. (2563). แนวทางการพัฒนาการบริหารงานวิชาการของศูนย์การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยในอำเภอ จังหวัดสกลนคร. วารสารบัณฑิตศึกษา. 17 (79), 268-279.

วีซานา อับดุลเลาะ และวุฒิชัย เนียมเทศ. (2020). การจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 “แนวคิด ทฤษฎี และแนวทางปฏิบัติ”. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์, 7 (2), 227-246.

ศักดิ์สิทธิ์ ฤทธิลัน. (2554). การพัฒนาแบบวัดคุณลักษณะความเป็นผู้เรียนรู้ตลอดชีวิตของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย. วิทยานิพนธ์ดุษฎีนิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิตครุศาสตร์. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สมาน อัศวภูมิ. (2551). การบริหารการศึกษาสมัยใหม่: แนวคิด ทฤษฎี และการปฏิบัติ. อุบลราชธานี : อุบลออฟเซท.

สำนักงาน กศน. (2558). การจัดระบบบริหารและสารสนเทศภายในของสถานศึกษา. กรุงเทพมหานคร : รังสีการพิมพ์

สุมาลีย์ สังข์สี. (2555). รูปแบบการจัดการศึกษาเพื่อเพิ่มโอกาสทางการศึกษาให้กับประชาชนกลุ่มอายุ 15 – 59 ปี ที่อยู่นอกระบบโรงเรียน. วารสารครุศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, (40) 2, 25-39.

สำนักงาน กศน. (2562). รายงานผลการดำเนินงาน สำนักงาน กศน. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562. กรุงเทพมหานคร.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2564). ข้อเสนอระบบการเรียนรู้ที่ตอบสนองการเปลี่ยนแปลงของโลกอนาคตในปี 2040. กรุงเทพมหานคร : ห้างหุ้นส่วนจำกับ อีเลฟเว่นสตาร์ อินเตอร์เทรด.

Blaschke, L. M.. (2012). Heutagogy and Lifelong Learning: A Review of Heutagogical Practice and Self-Determined Learning. International Review of Research in Open and Distance Learning, 13, 56-71.

Blaschke, L.M., Hase, S. (2016). Heutagogy:A Holistic Framework for Creating Twenty-First-Century Self-determined Learners. In: Gros, B., Kinshuk, ., Maina, M. (eds), The Future of Ubiquitous Learning. Berlin. Springer.

Blaschke, L.M. (2016). Self-Determined Learning: Designing for Heutagogic Learning Environments. In: Spector, M., Lockee, B., Childress, M. (eds), Learning, Design, and Technology. Cham. Springer.

Blaschke L.M.. (2019) The Pedagogy–Andragogy–Heutagogy Continuum and Technology-Supported Personal Learning Environments. In: Jung I. (eds), Open and Distance Education Theory Revisited. Singapore. Springer.

Candy, Philip C., Crebert, Gay, O'Leary, Jane. (1994). Developing lifelong learners through undergraduate education. Canberra. Australian Government Publishing Service.

Eachempati, P., Kumar, K., Komattil, R., & Ismail, A. R. H.. (2017). Heutagogy through Facebook for the millennial learners. MedEdPublish, 6(4), 1–12.

Eberle, J. (2009). Heutagogy: What your mother didn’t tell you about pedagogy and the conceptual age. In Proceedings from the 8th Annual European Conference on e-Learning. 29-30 October 2009. Bari Italy.

Elizabeth M. Dalton. (2017). Beyond Universal Design for Learning: Guiding Principles to Reduce Barriers to Digital & Media Literacy Competence. The National Association for Media Literacy Education’s Journal of Media Literacy Education, 9(2), 17–29.

Estmer & Newby. (1996). The expert learner: Strategic, self-regulated, and reflective. Instructional Science, 24, 1-24.

Galkiene A. and Monkeviciene O. (2020). Improving Inclusive Education through Universal Design for Learning. Cham Switzerland : Springer.

Halsall, Jamie P., Jason Powell, and Michael Snowden. (2016). “Determined Learning Approach: Implications of Heutagogy Society Based Learning.” Cogent Social Sciences 2. Online. Retrieved Jan 15,2023. from : https://doi.org/10.1080/23311886 .2016.1223904

Johansen B & Euchner J. (2013). Navigating the VUCA World, Research Technology Management, 56(1), 10-15.

Lindner, R.W. & Harris, B.R.. (1992). Self-Regulated learning in education majors. The Journal of General Education, 47(1), 63-78.

Park, H., Choi, J., Kim, J. et al. (2019). The Academic Credit Bank System in the Republic of Korea: An effective medium for lifelong learning in higher education. International Review of Education, 65, 975–990

Pendergast, D., Flangan, R., Land, R., Bahr, M., Mitchell, J., Weir, K., Smith, J. (2005). Developing Lifelong Learners in the Middle Years of Schooling. Ministerial Council on Education, Employment, Training and Youth Affairs : Australia.

Rahman, S., Mahmud, Z., Yassin, S., Amir, R., & Ilias, K. (2010). The development of expert learners in the classroom. Contemporary Issues in Education Research, 3(6), 1–8.

Stobart G. (2014). The expert learner. Berkshire. Open University Press.

Taro Yamane. (1973). Statistics: An Introductory Analysis. (3rd ed). New York. Harper and Row Publication.

Watson, L.. (2003). Lifelong learning in Australia. Canberra. Lifelong Learning Network, Division of Communication and Education, University Of Canberra.