การทำบุญใส่บาตรที่เหมาะสมของชาวพุทธไทยในปัจจุบัน

Main Article Content

พระมหาสายยันต์ วิสารโท
นิติกร วิชุมา

บทคัดย่อ

               บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทำความเข้าใจการตักบาตร และเสนอวิธีการในการทำบุญใส่บาตรที่เหมาะสมของชาวพุทธไทยในปัจจุบัน ว่ามีวิธีการทำบุญใส่บาตรที่เหมาะสมอย่างไร ต่อวิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไปตามบริบทของสังคม จนส่งผลกระทบถึงการทำบุญใส่บาตรตามวิถีดั้งเดิมที่เคยปฏิบัติสืบต่อกันมา แต่วิถีดั้งเดิมดังกล่าวได้เปลี่ยนแปลงไปด้วยสาเหตุในข้อจำกัดด้านเวลาการของการทำบุญใส่บาตร แต่เมื่อมีจิตศรัทธาที่จะทำจริงๆ ก็สามารถทำได้ด้วยวิธีการใหม่ เช่น การจ้างร้านค้าให้เป็นตัวแทนในการทำอาหารใส่บาตรให้แทน และการถวายเงินเข้ากองทุนอาหารบุญและอานิสงส์จะมีมากหรือน้อยเกี่ยวข้องกับเจตนาทั้ง 3 กาล คือ เจตนาก่อนจะให้ เจตนากำลังให้ และเจตนาหลังจากการให้แล้วบริสุทธิ์มากน้อยเพียงใด ในการทำบุญใส่บาตรของสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป จะให้พระสงฆ์ปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต เพื่ออนุวัติไปตามความเปลี่ยนแปลงของวิถีสังคมคงเป็นไปไม่ได้ เพราะไม่สอดคล้องกับหลักพระธรรมวินัยและพุทธประเพณีที่ถือปฏิบัติกันมา

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

คณาจารย์เลี่ยงเซียง. (2547).พุทธประวัติฉบับมาตรฐาน น.ธ.ตรี. กรุงเทพมหานคร โรงพิมพ์เลี่ยงเซียง,

ติน ปรัชญาพฤทธ์. (2555). การบริหารการพัฒนา : ความหมาย เนื้อหา แนวทางและปัญหา.

เนตรชนก เจริญสุข. (2557).การทำบุญตักบาตร. จุลสารสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพออนไลน์, สาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ,มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, ฉบับที่ 1 ปี 2557, ประจำเดือนธันวาคม,

พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. 9 ราชบัณฑิต. (2548).พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด.วัดราชโอรสาราม กรุงเทพมหานคร,

พระธรรมปฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). (2546). พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท.พิมพ์ครั้งที่ 11,กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,

พุทธทาสภิกขุ.(2543). คำสอนสำหรับผู้บวชใหม่. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ธรรมสภา,

พุทธทาสภิกขุ. (2540). อสีติสังวัจฉรายุศมานุสรณ์:ฟ้าสางทางมรดกที่ขอฝากไว้.พิมพ์ครั้งที่9. กรุงเทพมหานคร:ธรรมทานมูลนิธิ และสนพ.สุขภาพใจ,

มณีมัย ทองอยู่, (2014). การเพาะปลูกยางพาราและการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตในหมู่บ้านแห่งหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย, oAsian Social Science, 10 (13),

วิเชียร มีผลกิจ และกิจสุรีย์ มีผลกิจ. รวบรวมและเรียบเรียง. (2543). พระพุทธกิจ45 พรรษา. กรุงเทพมหารคร : บริษัทคอมฟอร์มจํากัด,

วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดยะลา. (2556) การทำบุญตักบาตร.แหล่งบริการวิชาการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ วสส.ยะลา,

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.(2539). พระไตรปิฎกภาษาไทยฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,

ศูนย์วิจัยมหาวิทยาลัยกรุงเทพ(กรุงเทพโพลล์), (2551).การทำบุญของคนไทยในสภาวะปัจจุบัน (รายงานการทำโพลล์12-14 กรกฎาคม พ.ศ. 2551),

สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ. (2561). อานิสงส์ของการใส่บาตร. เอกสารออนไลน์ (16 ตุลาคม.