การพัฒนาพฤติกรรมที่ดีของบุคคลโดยใช้หลักศีล 5

Main Article Content

นภัสวรรณ บุญยัษเฐียร

บทคัดย่อ

ศีล 5 เป็นพื้นฐานของมนุษยธรรมเป็นข้อปฏิบัติในชีวิตให้ถึงความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ คือ การไม่ฆ่าสัตว์ การไม่ลักทรัพย์ การไม่ประพฤติผิดในกาม การไม่พูดเท็จ และการไม่ดื่มสุราเมรัย  การพัฒนาพฤติกรรมที่ดีของบุคคลโดยใช้หลักศีล 5 เพื่อให้เกิดความปกติสงบสุขในสังคม และเกิดสันติสุขในการดำเนินชีวิตของมนุษย์ เป็นพื้นฐานให้เกิดคุณธรรมต่าง ๆ คือ ความมีเมตตา กรุณา มีหิริ โอตตัปปะ ความซื่อสัตย์สุจริตให้การดำเนินชีวิตให้ถูกต้องตามแนวทางพระพุทธศาสนา

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

ชิดชงค์ ส.นันทนาเนตร. (2549). ทฤษฎีการเรียนรู้สำหรับผู้ใหญ่. นครปฐม: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์.

ธีรยุทธ บุญมี. (2547). ความหลากหลายของชีวิต ความหลากหลายทางวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ: บริษัทโรงพิมพ์เดือนตุลาจำกัด.

ปราโมทย์ น้อยวัฒน์. (มมป.). อนุปุพพิกถา และอริยสัจ. กรุงเทพฯ: จัดพิมพ์โดยชมรมอนุรักษ์ธรรม.

พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). (2546). พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์. (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

_______. (2543). วิธีคิดตามหลักพุทธธรรม. (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: ศยาม.

_______. (2539). การศึกษากับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์โรงพิมพ์การศาสนา.

_______. (2541). การศึกษาทางเลือก : สู่วิวัฒน์หรือวิบัติ ในยุคโลกไร้พรมแดน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.

พระโสภณคณาภรณ์ (ระแบบ ฐิตญาโน). (2532). ธรรมปริทรรศน์ 2 อธิบายธรรมวิภาค ปริจเฉทที่ 2. กรุงเทพฯ: วัดบวรนิเวศวิหาร.

พระอภิชัย อภิชาโต (ชูขุนทด). (2554). การศึกษาหลักธรรมสำหรับพัฒนาพฤติกรรมของมนุษย์ในสังคมปัจจุบัน (วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต). อยุธยา: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระอุปติสสเถระ. (2538). วิมุตติมรรค แปลโดย คณาจารย์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พุทธทาสภิกขุ. (2539). ทาน ศีล ภาวนา. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์สุขภาพใจ.

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

มิต อาชวนิจกุล. (2535). การพัฒนาตนเอง ภาค 2. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ทิพย์อักษร.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่น จำกัด.

วศิน อินทสระ. (2528). มนุษย์และแนวทางพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ตามหลักพระพุทธศาสนา. กรุงเทพฯ: อมรการพิมพ์.

สมเด็จพระญาณสังวร (เจริญ สุวฑฺฒโน). (2538). ความจริงที่ต้องเข้าใจ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหามกุฎราชวิทยาลัย.

สามารถ สุขุประการ. (2551). ศึกษาเชิงวิเคราะห์ปรากฏการณ์บิ๊กแบงในมุมมองพระพุทธศาสนา (วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.