การเปิดเผยข้อมูลด้านการจัดการความยั่งยืนที่มีผลกระทบต่อความสามารถในการทำกำไรของบริษัทในกลุ่มอุตสาหกรรมการผลิตสินค้าอุปโภคบริโภคที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
คำสำคัญ:
การเปิดเผยข้อมูล, ความยั่งยืน, อุตสาหกรรมการผลิตสินค้าอุปโภคบริโภค, ความสามารถในการทำกำไรบทคัดย่อ
การวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเปิดเผยข้อมูลด้านการจัดการความยั่งยืนที่มีผลกระทบต่อความสามารถในการทำกำไรของกลุ่มอุตสาหกรรมการผลิตสินค้าอุปโภคบริโภคที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย จำนวน 41 บริษัทโดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากงบการเงินจากฐานข้อมูล SETSMART ในช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2563 – 2565 โดยใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการวิเคราะห์สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistic) วิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุ (Multiple Regression Analysis) และการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (Correlation Coefficient) ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05
ผลการวิจัยพบว่า ผลกระทบของการเปิดเผยข้อมูลด้านการจัดการความยั่งยืน (ESG) ส่งผลกระทบเชิงบวกต่อความสามารถในการทำกำไรด้านอัตราส่วนผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (ROE)และด้านอัตราส่วนผลตอบแทนต่อสินทรัพย์รวม (ROA) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05
References
จิรัญญา ตาวงษ์ และจิรพงษ์ จันทร์งาม. (2022). ผลกระทบของการจัดการเงินทุนหมุนเวียนที่มีต่อความสามารถในการทำกำไรของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย: กลุ่มอุตสาหกรรมทรัพยากร. วารสารวิชาการและวิจัยมหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, 12(1), 159-171.
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (2565). ความสามารถในการทำกำไรถูกกดดันจากต้นทุนการดำเนินงาน. https://www.set.or.th/th/about/setsource/news-release/article/188-setperformance.
, (2565). เอกสารแนะนำตัวชี้วัดด้านความยั่งยืนกลุ่มอุตสาหกรรมสินค้าอุปโภคบริโภค. https:// setsustainability.com//libraries/1119/item/sd_reporting.
ปทุมพร หิรัญสาลี. (2023). อิทธิพลของการประยุกต์ใช้การบัญชีบริหารเชิงกลยุทธ์ที่มีต่อผลการดำเนินงานของธุรกิจด้วยการวัดผลเชิงดุลยภาพ: กรณีศึกษาบริษัทกลุ่มอุตสาหกรรมที่เป็นสมาชิกสภาอุตสาหกรรมภาคใต้. วารสารวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี, 5(2), 83-97.
ยอดรัก นันทพานิช. (2565). ผลกระทบของการตกแต่งกำไรความระมัดระวังทางบัญชีและความรับผิดชอบต่อสังคมที่มีต่อการหลีกเลี่ยงภาษีเงินได้นิติบุคคลและตัวแปรกำกับจากคุณภาพการสอบบัญชี: หลักฐานจากประเทศไทย. มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.
วงศ์มณี ชวาลวรรณ, ศิลปะพร ศรีจั่นเพชร. (2020). ผลกระทบจากการปรับใช้มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 15 เรื่อง รายได้จากสัญญาที่ทำกับลูกค้าที่มีต่อคุณภาพกำไร. วารสารวิชาชีพบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 16(51), 5-22.
สัมฤทธิ์ ศิริคะเณรัตน์. (2022). ผลกระทบของการเปิดเผยข้อมูลด้านการจัดการความยั่งยืนที่มีต่อความ สามารถในการทำกำไรของบริษัทในกลุ่มเกษตร และอุตสาหกรรมอาหารที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารวิชาการและวิจัยมหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, 12(4), 161-177.
สุภลักษณ์ มานิตศรศักดิ์. (2013). การกำกับดูแลกิจการที่ดีกับการเปิดเผยข้อมูลด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม กรณีศึกษาบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ (mai) [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์].
อนุวัติ คูณแก้ว. (2560) สถิติเพื่อการวิจัย (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Asimakopoulous, I., Samitas, A., and Papadogonas, T., (2009). Firm-Specific and Economy Wide Determinants of Firm Profitability Greek Evidence using Panel Data. Managerial Finance, 35, 930–939.
Barnard, G. A. (1938). Statistical inference. Journal of the Royal Statistical Society, 11(2), 115-149.
Beiner, S., Drobetz, W., Schmid, M., and Zimmermann, H. (2003). An integrated framework of corporate governance and firm valuation-evidence from Switzerland. Universität Basel WWZ Department of Finance Working Paper, (10/03).
Deegan, C., (2002). Introduction: The legitimising effect of social and environmental disclosures–a theoretical foundation. Accounting, auditing and accountability journal, 15(3), 282-311.
Du, J., and Zhou, G. (2014). Big N auditors and earnings response coefficients–a comparison study between the US and China. China Accounting and Finance Review, 16, 1-19.
Freeman, R. B., and Medoff, J. L. (1984). What do unions do. Indus. & Lab. Rel. Rev., 38, 244.
Kouser, Rehana, et al. (2012). Inter-relationship between profitability, growth and size: A case of non-financial companies from Pakistan. Pakistan Journal of Commerce and Social Sciences (PJCSS), 6(2), 405-419.
Nakngam, C., (2018). A study of sustainability reports that return to investors of companies listed on the Stock Exchange of Thailand. Ramkhamhaeng University.
Netsuwan, P., Tangeakchit, M., and Inya, P. (2022). Disclosure of Sustainability Disclosure of Listed Companies in the Stock Exchange of Thailand. Songklanakarin Journal of Management Sciences, 1,26.
Okolie, A. O. (2014). Audit quality and earnings response coefficients of quoted companies in Nigeria. Journal of Applied Finance and Banking, 4(2), 139.
Patten, D. M. (1992). Intra-industry environmental disclosures in response to the Alaskan oil spill: A note on legitimacy theory. Accounting, organizations and Society, 17(5), 471-475.
Pimkhiri P, et al. (2019). Factors of corporate governance that influence the business value of companies listed on the Stock Exchange of Thailand (SET100). Journal of Liberal Arts and Management Sciences, Kasetsart University, 6(2), 27-40.
Saraphat, S., (2022). The Impact of Sustainability Disclosure on Performance of the Listed Companies on the Stock Exchange of Thailand: Impact of Disclosure Sustainability on the performance of listed companies on the Stock Exchange of Thailand. Journal of Management Science, Kasetsart University, 1(2), 56-81.
Sornsongkram P. (2017). A study of the relationship between environmental and social responsibility. and corporate governance (ESG) and enterprise value (TOBIN'S Q) in the energy business category listed on the Stock Exchange of Thailand. PathumThani: Thammasat University.
Suchman, M. C. (1995). Managing legitimacy: Strategic and institutional approaches. Academy of management review, 20(3), 571-610.
Teoh, S. H., and Wong, T. J. (1993). Perceived auditor quality and the earnings response coefficient. Accounting review, 346-366.
Thaipat Institute. (2015). Enhanced Sustainability Report. http://www.thaicsr.com/2015/ 12/blogpost.html
Vijayakumar, A., and Devi, S. (2011). Growth and corporate profitability: A study in Indian Automobile Industry. SMART. Journal of Business Management Studies, 7(2), 62-74.
Zyznarska-Dworczak, B. (2018). Legitimacy Theory in Management Accounting Research. Problemy Zarzadzania, 1(72), 195-203. DOI: 10.7172/1644-9584.72.12.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ต้นฉบับที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารบัญชีปริทัศน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ถือเป็นกรรมสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ไม่อนุญาตให้นำข้อความทั้งหมดหรือบางส่วนไปพิมพ์ซ้ำ เว้นเสียแต่ว่าจะได้รับอนุญาตจากมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย เป็นลายลักษณ์อักษร