ประสิทธิภาพของการปฏิบัติงานสำหรับนิสิตฝึกงานด้านการบัญชีในมุมมองของผู้มีส่วนได้เสีย
คำสำคัญ:
จริยธรรมวิชาชีพ, ความรู้ความสามารถทางเทคนิค, ประสิทธิภาพของการปฏิบัติงาน, นิสิตฝึกงาน, ด้านการบัญชีบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบปัจจัยที่ส่งผลต่อระดับประสิทธิภาพของการปฏิบัติงาน สำหรับนิสิตฝึกงานด้านการบัญชีในมุมมองของผู้มีส่วนได้เสีย ประเภทองค์กรธุรกิจที่มีส่วนร่วมในการให้โอกาสแก่นิสิตสาขาการบัญชี คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เข้าร่วมฝึกงาน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากสถานประกอบการจำนวน 146 แห่ง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การวิเคราะห์สหสัมพันธ์พหุคูณ และการวิเคราะห์การถดถอยแบบพหุคูณ ผลการวิจัย พบว่า ระดับจริยธรรมในวิชาชีพและระดับความรู้ความสามารถเชิงเทคนิค ส่งผลกระทบทางบวกต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของนิสิตฝึกงานด้านบัญชี โดยมีความสามารถในการอธิบายได้ร้อยละ 53 ได้อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.01 ข้อเสนอแนะที่สำคัญของการวิจัยคือ ผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีควรให้ความสนใจเป็นพิเศษในการพัฒนาจริยธรรมด้านวิชาชีพ และพัฒนาความสามารถทางเชิงเทคนิคในการปฏิบัติงานเพื่อให้ก้าวทันการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม เทคโนโลยี ทำให้มีความเป็นมืออาชีพมากขึ้น
References
จิตติมา ขำดำ, สุพิศ ฤทธิ์แก้ว และสมนึก เอื้อจิระพงษ์พันธ์. (2562). ความรู้ความสามารถของนักบัญชีและความเข้าใจในมาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐที่มีผลต่อประสิทธิภาพของสำนักงานอัยการสูงสุด.วารสารนักบริหาร, 39(2), 52-65.
ฉัตรอมร แย้มเจริญ. (2558). ความสัมพันธ์ระหว่างจริยธรรมด้านการมีมนุษยสัมพันธ์จรรยาบรรณวิชาชีพบัญชีและประสิทธิภาพการทำงานของนักบัญชี : กรณีศึกษา นักบัญชีในบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในกรุงเทพมหานคร. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์. 1(1), 55-66.
ธราธร บุ้งทอง, กมล เสวตสมบูรณ์ และละเอียด ศิลาน้อย. (2553). ความสัมพันธ์ระหว่างประสิทธิภาพการสื่อสารภายในองค์กรกับประสิทธิภาพการทำงานเป็นทีมของบริษัท นำเที่ยว ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. วารสารการวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย, 7(22), 73-85.
บุญช่วง ศรีธรราษฎร์ และอารยะรัตน์ ชารีแสน. (2563). ความรู้ความสามารถทางวิชาชีพบัญชีที่ส่งผลต่อ ประสิทธิภาพการทำงานของนักบัญชีในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วารสารการวิจัยและพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์. 4(2), 51-61.
พีรพล บูรณะบุรี และประเวศ เพ็ญวุฒิกุล. (2565). ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประสิทธิภาพการปฏิบัติงานและประสิทธิภาพการปฏิบัติตนกับจรรยาบรรณวิชาชีพบัญชีของครูบัญชีอาชีวศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร และ ปริมณฑล. วารสารการพัฒนาการเรียนรู้สมัยใหม่, 7(11), 65-78.
มาลินี นกศิริ. (2559). ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงาน บริษัท ธรรมรักษ์ ออโตพาร์ท จำกัด. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ, มหาวิทยาลัยราชภัฏราชครินทร์.
สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์. (2566). มาตรฐานการศึกษาระหว่างประเทศสำหรับผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี ฉบับที่ 5 เรื่อง ข้อกำหนดด้านประสบการณ์การทำงานจริง. สืบค้นวันที่ 28 กันยายน 2566, จาก https://acpro-std.tfac.or.th/uploads/files/2005_IES5.pdf.
. (2566). ข้อบังคับสภาวิชาชีพบัญชี ว่าด้วยจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี. สืบค้นวันที่ วันที่ 28 กันยายน 2566, จาก https://www.tfac.or.th/upload/9414/5HnUcQr4Rn.PDF.
. (2566).มาตรฐานการศึกษาระหว่างประเทศสำหรับผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี ฉบับที่ 3 เรื่อง ทักษะทางวิชาชีพ. สืบค้นวันที่ วันที่ 28 กันยายน 2566 จาก https://acpro-std.tfac.or.th/uploads /files/2005_IES3.pdf.
อนุสรา ขจรนาม, วราพร เปรมพาณิชย์นุกูล และณัฐวุฒิ ตันติเศรษฐ. (2561). ผลกระทบของความรู้ความสามารถ ด้านนวัตกรรมที่มีต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของผู้ทำบัญชีในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วารสารการบัญชีและการจัดการ, 10(1), 27-37.
Ali, A. A., Dada, I. T., Isiaka, G. A., & Salmon, S. A. (2014). Types, causes and management of indiscipline acts among secondary school students in Shomolu Local Government Area of Lagos State. Studies in Social Sciences, 8(2), 254-287.
Beard, D.F. (2007), Assessment of internship experiences and accounting core competencies. Accounting Education, 16(2), 207-220.
Ehiane, O. S. (2014). Discipline and academic performance (A study of selected secondary schools in Lagos, Nigeria). International journal of academic research in progressive education and development, 3(1), 181-194.
Fahlevi, B., Syah, T. Y. R., & Umar, H. (2019). Competence contribution in work environment and job satisfaction performance over PTSP West Jakarta. Journal of Multidisciplinary Academic, 3, 108-112
Furco, A. (1996). Service-learning: a balance approach to experiential education, in Taylor, B. (Ed.). Expanding Boundaries:Service and Learning, Corporation for National Service, Washington, DC, pp. 9-18.
Gong, Y., Rai, D., Beck, J. E., and Heffernan, N. T. (2009). Does Self-Discipline Impact Students' Knowledge and Learning?. International Working Group on Educational Data Mining.
Hair Jr., J.F., Black, W.C., Babin, B.J., & Anderson, R.F. (2010) .Multivariate Data Analysis: A Global Perspective, (7th ed.). New Jersey: Pearson Prentice Hall.
Lam, T.and Ching, L. (2006). An exploratory study of an internship program: The case of Hong Kong students. Hospitality Management, 26, 336-351.
Maelah Ruhanita, Muhammaddun Mohamed Zakiah, Ramli Rosiati and Aman Aini. (2014). Internship for accounting undergraduates: comparative insights from stakeholders. Education + Training, Vol. 56 Issue: 6, pp.482-502, https://doi.org/ 10.1108/ET-09-
Martin, D. R., & Wilkerson Jr, J. E. (2006). An examination of the impact of accounting internships. The Accounting Educators' Journal, 16.
Muhamad, R., Yahya, Y., Shahimi, S., and Mahzan, N. (2009). Undergraduate Internship Attachment in Accounting: The Interns Perspective. International education studies, 2(4), 49-55.
Nunally, J. C. (1978). Psychometric theory. 2nd ed. New York: McGraw-Hill.
Ouma, M. O., Simatwa, E. W., and Serem, T. D. K. (2013). Management of pupil discipline in Kenya: A case study of Kisumu Municipality. Educational Research , 4(5) , 374-386.
Pawirosumarto, S., Sarjana, P. K., and Gunawan, R. (2017). The effect of work environment, leadership style, and organizational culture towards job satisfaction and its implication towards employee performance in Parador Hotels and Resorts, Indonesia. International Journal of Law and Management, 59(6), 1337-1358. doi:10.1108/ijlma-10-2016-0085.
Pernsteiner, A. J. (2015). The value of an accounting internship: What do accounting students really aim?. Academy of Educational Leadership Journal, 19(3), 223.
Petersen, E., and Plowman, E. G. (1953). Business organization and management. Homewood, Ill: R.D. Irwin.
Rovinelli, R. J. and R. K. Hambleton. 1977)). On the use of content specialists in the assessment of criterion-referenced test item validity. Dutch Journal of Educational Research, 2, 49-60.
Simba, N. O., Agak, J. O., and Kabuka, E. K. (2016). Impact of Discipline on Academic Performance of Pupils in Public Primary Schools in Muhoroni Sub-County, Kenya. Journal of Education and Practice, 7, 164-173.
Tesfu, A. (2019). Effects of working environment on employee performance: in the case of Boelemi Industrial Park, ADDIS ABABA. Department of Management in partial fulfillment of the requirement for the award of master of business administration.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ต้นฉบับที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารบัญชีปริทัศน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ถือเป็นกรรมสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ไม่อนุญาตให้นำข้อความทั้งหมดหรือบางส่วนไปพิมพ์ซ้ำ เว้นเสียแต่ว่าจะได้รับอนุญาตจากมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย เป็นลายลักษณ์อักษร