การพัฒนาและออกแบบเสื้อแฟชั่นจากผ้าขาวม้าในจังหวัดเชียงราย

ผู้แต่ง

  • พัฐสุดา ภารสว่าง นักศึกษาระดับปริญญาตรี สำนักวิชาบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
  • สิรีธร คำมูล นักศึกษาระดับปริญญาตรี สำนักวิชาบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
  • เขมิสรา ปะละจันทร์ นักศึกษาระดับปริญญาตรี สำนักวิชาบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
  • ดร.กัสมา กาซ้อน รองศาสตราจารย์ประจำสำนักวิชาบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย

บทคัดย่อ

การพัฒนาและออกแบบเสื้อแฟชั่นจากผ้าขาวม้าในจังหวัดเชียงราย ครั้งนี้ผู้วิจัยได้กำหนดวัตถุประสงค์ 3 ประการคือ

  1. เพื่อพัฒนาและออกแบบเสื้อแฟชั่นจากผ้าขาวม้า
  2. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผลิตภัณฑ์เสื้อแฟชั่นจากผ้าขาวม้า กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ ประชากรทั่วไปในจังหวัดเชียงราย จำนวน 201 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการใช้แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าสถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน

ผลการวิจัยพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 21-30 ปี ความพึงพอใจต่อผลิตภัณฑ์เสื้อแฟชั่นจากผ้าขาวม้า ภาพรวมอยู่ในระดับมาก (gif.latex?\bar{x}=4.30) เมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ ด้านช่างทางการจัดจำหน่าย ค่าเฉลี่ยสูงสุด (gif.latex?\bar{x}=4.47) เป็นการขายตามท้องตลาด ตลาดนัด ถนนคนเดิน รองลงมา ได้แก่ ด้านประโยชน์การใช้สอย (gif.latex?\bar{x}=4.35) สวมใส่ง่ายสะดวกไม่ยุ่งยากต่อการสวมใส่ ด้านผลิตภัณฑ์ (gif.latex?\bar{x}=4.31) ผลิตภัณฑ์มีความประณีตของการออกแบบและตัดเย็บ และด้านราคา (gif.latex?\bar{x}=4.08) เสื้อแฟชั่นจากผ้าขาวม้ามีการระบุราคาผลิตภัณฑ์ไว้ชัดเจน

References

กิตติพงษ์ เกียรติวิภาค. (2559). การศึกษาและพัฒนาการนำผ้าฝ้ายทอมือ มาประยุกต์ใช้ในการสร้างสรรค์เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ กรณีศึกษา:กลุ่มหมู่บ้าน ผ้าฝ้ายทอมือบ้านดอนหลวง อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน1.วารสารศิลปกรรมสาร.11(1).13-51

เกียรติพงษ์ อุดมธนะธีระ. (2563 เมษายน 10). วงจรการพัฒนาระบบ. แหล่งที่มา:

https://dol.dip.go.th/th/category/2019-02-08-08-57-30/2019-03-15-11-06-29.

ดวงมณี สูงสันเขต. (2560). การศึกษาชนเผ่าอาข่าเพื่อออกแบบชุดผลิตภัณฑ์ตกแต่งบนโต๊ะอาหาร.ค้นคว้าอิสระ. สาขาวิชาการออกแบบผลิตภัณฑ์. ภาควิชาการออกแบบผลิตภัณฑ์. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

เจษฎาภรณ์ ศรศรีเกิด. (2555). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกซื้อสินค้าผ่านโซเชียลมีเดียของนักศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. คณะเศรษฐศาสตร์

จันท์ทัปภาส์ ธนประดิษฐ์กุล. (2560). การเปรียบเทียบความพึงพอใจของลูกค้าต่อส่วนประสมทางการตลาด สำหรับกลุ่มทอผ้าขาวม้าเพื่อการผลิต บ้านขาม อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์. มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

พิณิชา กิจเกษมพงศา. (2559). คุณภาพของอาหาร ความคุ้มค่าด้านราคา ความพึงพอใจ คุณค่าด้านสุขภาพ และทัศนคติต่ออาหาร ที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้ออาหารริมทาง ของผู้บริโภคในกรุงเทพมหานคร.การค้นคว้าอิสระ (บธ.ม.). บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

รัตนเรขา มีพร้อม และอดิเทพ สุรพงษ์พิวัฒนะ. (2560). การออกแบบเสื้อคลุมสตรีจากผ้าขาวม้าด้วยเทคนิคการปรับแบบตัด. สาขาวิชาสิ่งทอและการออกแบบ. คณะเกษตรศาสตร์และเทคโนโลยี. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน

ศรัณยนันฑ์ ศรีจงใจ. (2561). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อเสื้อผ้าแฟชั่นผ่านช่องทางการถ่ายทอดสดเฟซบุ๊กไลฟ์ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร. สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต,มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

สุกัญญา สีลาดเลา. (2557). ความพึงพอใจของประชาชนที่มีตอการใหบริการขององคการบริหารสวน ตําบลหนองแกว อําเภอเมือง จังหวัดรอยเอ็ด. สารนิพนธสาขารัฐศาสตรการปกครอง มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

Downloads

เผยแพร่แล้ว

06-01-2023