แนวคิดและทฤษฎีที่ใช้ในการอธิบายบทความวิจัยที่เผยแพร่ในวารสารจุฬาลงกรณ์ธุรกิจปริทัศน์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ผู้แต่ง

  • ฐิติวรดา แสงสว่าง อาจารย์ประจำคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์
  • สุมินทร เบ้าธรรม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร
  • กนกกาญจน์ วิชาศิลป์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร
  • ดวงฤดี อู๋ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร
  • กุลสตรี บุนนท์ นักศึกษาระดับปริญญาตรี คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร
  • ปวีณา ดวงดาว นักศึกษาระดับปริญญาตรี คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร

คำสำคัญ:

แนวคิด, ทฤษฎี, บทความวิจัย, วารสารจุฬาลงกรณ์ธุรกิจปริทัศน์

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวคิดและทฤษฎีที่ใช้ในการอธิบายบทความวิจัยที่เผยแพร่ในวารสาร จุฬาลงกรณ์ธุรกิจปริทัศน์ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2552-2561 รวมทั้งสิ้น 210 เรื่อง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสำรวจรายการด้วยตนเอง ผลการศึกษาพบว่า มีแนวคิดจำนวน 36 แนวคิดและมีทฤษฎีจำนวน 52 ทฤษฎีที่ถูกนำไปใช้ในการอธิบายบทความวิจัยในวารสารจุฬาลงกรณ์ธุรกิจปริทัศน์ โดยแนวคิดที่ถูกนำไปใช้ในการอธิบายบทความวิจัยมากที่สุด ได้แก่ แนวคิดคุณภาพบริการและแนวคิดภาพลักษณ์ตราสินค้า รองลงมาคือ แนวคิดการจัดการห่วงโซ่อุปทาน แนวคิดการบริหารทรัพยากรมนุษย์ และแนวคิดการวัดประสิทธิภาพขององค์กร ส่วนทฤษฎีที่ถูกนำไปใช้ในการอธิบายบทความวิจัยมากที่สุดคือ ทฤษฎีฐานทรัพยากร รองลงมาคือ ทฤษฎีผู้มีส่วนได้เสีย และทฤษฎีประสิทธิภาพของตลาด สารสนเทศที่ได้จากงานวิจัยนี้เป็นการยืนยันแนวคิดและทฤษฎีที่ยังคงอยู่และถูกนำไปใช้อย่างแพร่หลายในวารสารวิชาการชั้นนำของประเทศ

References

จุฬารัตน์ ขันแก้ว. (2562). กลยุทธ์การตลาดดิจิทัลและผลการดำเนินงานทางการตลาด หลักฐานเชิงประจักษ์จากธุรกิจบริการในประเทศไทย. จุฬาลงกรณ์ธุรกิจปริทัศน์, 41(159), 1-32.

ธกานต์ ชาติวงค์. (2560). ทฤษฎีที่ใช้อธิบายงานวิจัยทางบัญชี: จากอดีตถึงอนาคต. วารสารวิชาการบริหารธุรกิจ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมป์ สมเด็พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, 6(2), 189-198.

ธิคุณ สุภาสัย และชัยวุฒิ ตั้งสมชัย. (2561). การเปลี่ยนแปลงกฎเกณฑ์เกี่ยวกับกรรมการอิสระและการจัดการกำไรของบริษัทจดทะเบียนในประเทศไทย. จุฬาลงกรณ์ธุรกิจปริทัศน์, 41(158), 1-22.

วิทยา จารุพงศ์โสภณ สุชาติ ไตรภพสกุล และวิเลิศ ภูริวัชร. (2559). อิทธิพลของคุณภาพการบริการ ร้านค้าปลีกต่อความพึงพอใจและความภักดีของลูกค้า กรณีศึกษา: กลุ่มธุรกิจห้างสรรพสินค้ากชัวรี่. จุฬาลงกรณ์ธุรกิจปริทัศน์, 38(150), 126-148.

ศักดิ์สิน อุดมวิทยไพศาล ภัทรพล ทศมาศ และภักดี โพธิ์สิงห์. (2562). ทฤษฎีการตัดสินใจในการกำหนดนโยบายสาธารณะ. วารสารบัณฑิตศึกษา, 16(72), 1-9.

สุชาติ ไตรภพสกุล. (2561). แบบจำลองสมการโครงสร้างคุณภาพบริการอิเล็กทรอนิกส์ต่อความพึงพอใจความตั้งใจซื้อซ้ำของลูกค้า กรณีศึกษา: การซื้อสินค้าผ่านทางเว็บไซต์. จุฬาลงกรณ์ธุรกิจปริทัศน์, 41(158), 23-52.

สัญญา เคณาภูมิ. (2558). การสร้างกรอบแนวคิดการวิจัยโดยใช้ทฤษฎีจากฐานราก. วารสารวิจัยและพัฒนา, 8(3), 93-103.

อภิชาติ คณารัตนวงศ์ (2562). ตัวแบบความไว้วางใจที่มีอิทธิพลต่อการมีส่วนร่วมโครงการระดมทุนเพื่อการกุศล. จุฬาลงกรณ์ธุรกิจปริทัศน์, 41(59), 115-152.

Barney, J. (1991). Firm Resources and Sustained Competitive Advantage. Journal of Management, 17(1), 99–120.

http://doi.org/10.1177/014920639101700108.

Brodie, R. J., Hollebeek, L. D., Juric, B., and Ilic, A. (2011). Customer Engagement: Conceptual Domain, Fundamental Propositions, and Implications for Research. Journal of Service Research, 13(3), 252-271.

Fama, E. F., (1970). Efficient Capital Markets: A Review of Theory and Empirical Work. The Journal of Finance, 25(2), 383-417.

Fiedler, F. E. (1967). A Theory of Leadership Effectiveness. New York: McGraw-Hill.

Healy, P. M., and Wahlen, J. M. (1999). A Review of Earnings Management Literature and Its Implications for Standard Setting. Accounting Horizons, 13, 365-383.

Hollebeek, L. D. (2011a). Exploring Customer Brand Engagement: Definition and Themes. Journal of Strategic Marketing, 19(7), 555-573.

Hollebeek, L. D. (2011b). Demystifying Customer Brand Engagement: Exploring the Loyalty Nexus. Journal of Marketing Management, 27(7-8), 785-807.

Hollebeek, L. D., (2013). The Customer Engagement/Value Interface: An Exploratory Investigation. Australasian Marketing Journal, 21, 17-24.

Jensen, M. C., and Meckling, W. H. (1976). Theory of the Firm: Management Behavior, Agency Costs and Ownership Structure. Journal of Financial Economics, 3(4), 305-360.

Keller. L. L., (1993). Conceptualizing, Measuring, and Managing Customer-Based Brand Equity. Journal of Marketing, 57 (1), 1-22.

Lawrence, P., and Lorsch, J. (1967). Organization and Environment. Massachusetts: Harvard University Press.

Luthans, F., and Stewart, T. I. (1977). A General Contingency Theory of Management. Academy of Management Journal, 2(2), 181-195

Parasuraman, A., Zeithaml, V. A., and Berry, L. L. (1985). A Conceptual Model of Service Quality and its Implications for Future Research. The Journal of Marketing, 41 - 50.

Parasuraman, A., Zeithaml, V., and Berry, L. (2002). SERVQUAL: A Multiple-item Scale for Measuring Consumer Perceptions of Service Quality. Retailing: Critical Concepts, 64(1), 140.

Richard, M. D., and Allaway, A. W. (1993). Service Quality Attributes and Choice Behavior. Journal of Services Marketing, 7(1), 59-68.

Vivek, S. D., Beatty, S. E., and Morgan, R. M. (2012). Customer Engagement: Exploring Customer Relationships beyond Purchase. Journal of Marketing Theory and Practice, 20(2), 127-145.

Wernerfelt, B. (1984). A Resource-based View of the Firm. Strategic Management Journal, 5(2), 171–180. http://doi.org/10.1002/smj.4250050207

Downloads

เผยแพร่แล้ว

14-12-2022