การบัญชีนิติเวช กับการทุจริตทางบัญชี : กรณีศึกษา มหาวิทยาลัย เอ
คำสำคัญ:
การบัญชีนิติเวช, การทุจริตทางบัญชีบทคัดย่อ
บทความนี้ นำเสนอถึง การป้องกัน การตรวจสอบการทุจริต และนักบัญชีนิติเวชที่ถูกฝึกอบรมให้เป็นผู้ตรวจสอบในระดับการทุจริตภายในของบริษัท และการทุจริตต่อสาธารณะ บทความนี้จะอธิบายเกี่ยวกับความหมายของบัญชีนิติเวช ความหมายของการทุจริต ประเภทของการทุจริต กระบวนการกระทำทุจริตและการสืบสวนสอบสวน สัญญาณการทุจริตเบื้องต้น กรณีศึกษา และบทสรุป
References
ประมวลกฎหมายอาญา, ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 73/ตอนที่ 95/ฉบับพิเศษ หน้า 1/15 พฤศจิกายน 2499
วสันต์ กาญจนมุกดา.(2560). บัญชีนิติเวช. สงขลา: ศูนย์หนังสือมหาวิทยาลัยทักษิณ.
อังสนา ศรีประเสริฐ. (2549). การบัญชีนิติเวชศาสตร์ (ออนไลน์). สืบค้นเมื่อ 15 มกราคม 2560.
จาก http:www.utcc.ac.th/public_content/files/ 001/p150_1.pdf.
Bonner, S. E., Palmrose, Z. V., & Young, S. M. (1998). Fraud type and auditor litigation: An analysis of SEC accounting and auditing enforcement releases. Accounting Review, 503-532.
Cressey R. Donald, (1953). Other people's money; a study of the social psychology of embezzlement.
Tommie W. Singleton, Aaron J. Singleton, G. Jack Bologna and Robert J. Lindquist, (2006). Fraud Audition and Forensic Accounting. New Jersey:
John Wiley & Sons, Inc.
Webster,N. (1983). Webster’s Desk Dictionary of the English Language. New Jersey: Gramercy Book.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ต้นฉบับที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารบัญชีปริทัศน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ถือเป็นกรรมสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ไม่อนุญาตให้นำข้อความทั้งหมดหรือบางส่วนไปพิมพ์ซ้ำ เว้นเสียแต่ว่าจะได้รับอนุญาตจากมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย เป็นลายลักษณ์อักษร