อิทธิพลของความสามารถในการจัดการความรู้ที่มีต่อความสำเร็จของธุรกิจ กรณีศึกษาธุรกิจส่งออกเฟอร์นิเจอร์ในประเทศไทย

ผู้แต่ง

  • ณภัทร ทิพย์ศรี คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย

คำสำคัญ:

ความสามารถในการจัดการความรู้, ความสำเร็จของธุรกิจ, ธุรกิจส่งออกเฟอร์นิเจอร์

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของความสามารถในการจัดการ ความรู้ที่มีต่อความสำเร็จของธุรกิจ กรณีศึกษาธุรกิจส่งออกเฟอร์นิเจอร์ในประเทศไทย เก็บ รวบรวมข้อมูลจากผู้ประกอบการธุรกิจส่งออกเฟอร์นิเจอร์ในประเทศไทย จำนวน 185 ราย โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการวิจัย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการวิเคราะห์การถดถอย ผลการวิจัย พบว่า ความสามารถในการจัดการความรู้ของธุรกิจส่งออกเฟอร์นิเจอร์ ในประเทศไทย โดยรวมอยู่ในระดับมาก สำหรับความสำเร็จของธุรกิจส่งออกเฟอร์นิเจอร์ใน ประเทศไทยโดยรวมอยู่ในระดับมาก นอกจากนี้ผลการวิจัยยังพบว่า ความสามารถในการจัด การความรู้มีอิทธิพลเชิงบวกต่อความสำเร็จของธุรกิจส่งออกเฟอร์นิเจอร์ในประเทศไทย โดยสรุป ผลการวิจัยนี้สามารถนำไปใช้เป็นแนวทางการพัฒนาความสามารถในการจัดการความรู้ของธุรกิจ ส่งออกเฟอร์นิเจอร์ในประเทศไทยเพื่อนำไปสู่ศักยภาพทางการแข่งขันของธุรกิจในต่างประเทศต่อไป

References

กรมส่งเสริมการส่งออก. (2555).รายชื่อผู้ส่งออก (Exporter List). เข้าถึงเมื่อ 30 มีนาคม 2555. เข้าถึงได้จาก (www.depthai.go.th)

กีรติ ยศยิ่งยง. (2549).การวางแผนการเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาองค์กรเชิงกลยุทธ์. กรุงเทพฯ : มิสเตอร์ก๊อปปี้.

ชฏารัตน์ สุขศีล. (2551). ความสัมพันธ์ระหว่างประสิทธิภาพการจัดการความรู้กับผลการ ดำเนินงานของธุรกิจผลิตภัณฑ์ผ้าไหมในเขตจังหวัดมหาสารคาม. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ฐิติพร ชมพูคำ. (2548). การบริหารเพื่อจัดการความรู้ (Management for Knowledge Management). วารสารจุฬาลงกรณีธุรกิจปริทัศน์, ปีที่ 27 ฉบับที่ 103 มกราคม-มีนาคม. 21-29.

พรธิดา วิเชียรปัญญา. (2547). การจัดการความรู้: พื้นฐานและการประยุกต์ใช้. กรุงเทพฯ : ธรรกมลการพิมพ์.

ผุสดี พลสารัมย์. (2541). การศึกษาเชิงประจักษ์ของตัวแบบนวัตกรรมทางการตลาดที่มีผล ต่อการดำเนินงานของธุรกิจส่งออกในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สิทธิชัย ฝรั่งทอง. (2553). ขับคลื่อนโลจิสติกส์ด้วยการตลาด. กรุงเทพฯ : เอ็กซเปอร์เน็ท.

สุธีระ ประเสริฐสรรพ์. (2545). สนุกกับงานวิจัย. กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย.

สุรสิทธิ์ ลอย, อนิรุทธ์ ผงคลี, และแคทลียา ชาปะวัง. (2555). ความสัมพันธ์ระหว่างกลยุทธ์ การสร้างความจงรักภักดีของลูกค้ากับความสำเร็จในการดำเนินงานของธุรกิจโรงแรม ในประเทศไทย. วารสารการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม – มีนาคม 2555. 120-128.

อนันต์ ภวภูตานนท์. (2551). ผลกระทบของศักยภาพการจัดการความรู้ที่มีต่อผลการดำเนิน งานของธนาคารออมสิน. วิทยานิพนธ์การจัดการมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

Aaker, D. A., V. Kumar and G. S. Day. (2001). Marketing Research. New York : John Wiley and Sons.

Armstrong, J. S. and T. S. Overton. (1977). Estimating Non-response Bias in Mail Surveys. Journal of Marketing Research. Vol. 14. pp.396-402.

Lages, L. F., and Montgomery, D. B. (2004). Export Performance as an Antecedent of Export Commitment and Marketing Strategy Adaptation. European Journal of Marketing. Vol. 38. pp.1186-1214.

Liu, P., Chen, W., and Tsai, C. (2004). An Empirical Study on the Correlation between Knowledge Management Capability and Competitiveness in Taiwan’s Industries. Technovation. Vol 24. pp.971-977.

Marquardt, M. J. (1996). Building the Learning Organization. McGraw-Hill, New York, NY.

Nunnally, J. C. and I. H. Bernstein. (1994). Psychometric Theory. New York : McGraw-Hill.

Thepphawan, P. (2005). Learning Organization: Best Practices for Innovation. Naresuan University Journal. Vol. 13. No. 3. pp.55-62.

Yamane, T. (1973). Statistics an introductory analysis. 3rded. New York: Harper International Edition.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

30-06-2016