INCOTERMS COMPARISONS BETWEEN SEA AND LAND : CASE STUDY OF EXPORT BAGGED SUGAR

Main Article Content

Paveena Rungsuwannarat

Abstract

The objective of this research is to propose the cost and the factor which is choose for sell and buy incoterm comparison between sea and land for the shipper sugar mill and distributor was selected for this study, Methodology use primary data the cost for Sea freight and Land Freight from Thailand to Cambodia Second, Cost Analysis comparison between Sea freight and land Freight and interview 16 people with seller and buyer who can make a decision to choose and can use incoterms. Respectively, After comparison the cost incoterm found out that Sea Freight save cost more than Land Freight and the factor mostly opinions is Buyer’s responsibility and sugar sale system. Although Seller can make profit from freight rate if they change the incoterm to be CFR and CIF but the seller still not change to sell for another term due to company policy, Convennience caused, Release product, internal company logistic and place of destination. In the Meantime the buyer required to buy another incoterm they want seller ease burder even have to pay.

Article Details

How to Cite
Rungsuwannarat, P. (2020). INCOTERMS COMPARISONS BETWEEN SEA AND LAND : CASE STUDY OF EXPORT BAGGED SUGAR. Journal of Graduate School of Commerce-Burapha Review, 15(2), 92–105. Retrieved from https://so02.tci-thaijo.org/index.php/GSC/article/view/241420
Section
บทความวิจัย

References

กมลชนก สุทธิวาทนฤพุฒิ และคนอื่นๆ. (2556). การจัดการโลจิสติกส์. กรุงเทพมหานคร: แมคกรอ-ฮิล
อินเตอร์เนชั่นแนล เอ็นเตอร์ไพรส์ อิงค์.
กุลกานต์ ศรนารายณ์. (2551). การวิเคราะห์โลจิสติกส์การนำเข้าเหล็กเส้นแบนระหว่าง CIF และ FOB
,วิทยานิพนธ์ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการด้านโลจิสติกส์ (สหสาขาวิชา), จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
ปิยะกรณ์ สุนทรวัฒน์. (2553). ปัจจัยในการคัดเลือกผู้ประกอบการขนส่งสินค้าอุปโภคบริโภคด้วยรถบรรทุก.
,วิทยานิพนธ์ วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิศวกรรมโยธา, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ภัทรวีร์ คล้ายเคลื่อน. (2544). การนำกฎหมายของนายวาณิชย์ (lex mercatoria) มาใช้ในการระงับข้อพิพาท
โดยศาลไทย : ศึกษาเฉพาะกรณี INCOTERMS 2000. วิทยานิพนธ์ นิติศาสตร์มหาบัณฑิต
สาขานิติศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วลัยพันธ์ เธียรไทย. (2549). การวิเคราะห์ต้นทุนทางโลจิสติกส์เพื่อการกระจายสินค้า ,วิทยานิพนธ์ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาการจัดการด้านโลจิสติกส์ สหสาขาวิชา, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วิศิษฎ์วธู สุวรรณพันธ์มณี. (2547). ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการตัดสินใจเลือกรูปแบบการขายเทอมซีเอฟอาร์ :
กรณีการส่งออกข้าวบรรจุกระสอบ ,วิทยานิพนธ์ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการ จัดการด้านโลจิสติกส์
สหสาขาวิชา, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ศันสนีย์ ศิริธนากิจ. (2552). ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกผู้ผลิต เงื่อนไขการค้า และรูปแบบการซื้อขาย สำหรับวัตถุแต่งกลิ่นรส
อาหาร, วิทยานิพนธ์ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการด้านโลจิสติกส์ (สหสาขาวิชา), จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
สงคราม อาฮูวารี. (2546). ความเหมาะสมของการส่งออกยางพาราด้วยเรือชายฝั่ง, วิทยานิพนธ์ วิศวกรรมศาสตร
มหาบัณฑิต สาขาวิศวกรรมโยธา, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สมเกียรติ สหประภา. (2555). การขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบจากประเทศไทยไปสหภาพยุโรป, วิทยานิพนธ์
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการด้านโลจิสติกส์ สหสาขาวิชา, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เอกพล ประไพทรัพย์สกุล. (2549). การขนส่งสินค้าน้ำตาลถุงต่อเนื่องหลายรูปแบบจากประเทศไทยไปกัมพูชา, วิทยานิพนธ์
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการด้านโลจิสติกส์ สหสาขาวิชา, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
กรมศุลกากร. (2561). ความเป็นมาของ INCOTERM 2010, [ออนไลน์], 1 พฤศจิกายน 2562, เข้าถึงได้จาก
http://www.customs.go.th/content.php?ini_content=customs_valuation_03&ini_menu=menu_customs_value&lang=th&left_menu=menu_customs_value_03
กรมการขนส่งทางบกกระทรวงคมนาคม. (2556). คู่มือ “เตรียมความพร้อมผู้ประกอบการขนส่งไทยสู่อาเซียน” กรมการขนส่งทางบกกระทรวงคมนาคม, [ออนไลน์], 18 พฤศจิกายน 2562, เข้าถึงได้จากhttp://www.oic.go.th/FILEWEB/CABINFOCENTER1/DRAWER060/GENERAL/DATA0000/00000048.PDF
กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ. (2561). ประเทศกัมพูชา, [ออนไลน์], 1 พฤศจิกายน 2562, เข้าถึงได้จากhttps://www.ditp.go.th/contents_attach/221327/221327.pdf