THE INFLUENCE OF PERCEIVED ORGANIZATIONAL SUPPORT AND SELF-EFFICACY ON ACHIEVEMENT MOTIVATION AND PERFORMANCE OF EMPLOYEE IN ABC AUTOMOTIVE INDUSTRY, CHON BURI PROVINCE

Main Article Content

Natvara Poonyavithitroj
Jutamard Thaweepaiboonwong

Abstract

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับการรับรู้การสนับสนุนขององค์การ การรับรู้สมรรถนะแห่งตน แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ และผลการปฏิบัติงานของพนักงาน บริษัทในกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์แห่งหนึ่ง จังหวัดชลบุรี 2) ศึกษาอิทธิพลการรับรู้การสนับสนุนขององค์การและการรับรู้สมรรถนะแห่งตนที่มีต่อแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์และผลการปฏิบัติงานของพนักงาน บริษัทในกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์แห่งหนึ่ง จังหวัดชลบุรี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ในการวิจัย คือ พนักงานของบริษัทในกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์แห่งหนึ่ง จังหวัดชลบุรี จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์สมการเชิงโครงสร้างด้วยโปรแกรม Amos โดยกำหนดค่านัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05


          ผลการวิจัย พบว่า 1) ระดับการรับรู้การสนับสนุนขององค์การ การรับรู้สมรรถนะแห่งตน แรงจูงใจ     ใฝ่สัมฤทธิ์ และผลการปฏิบัติงานของพนักงาน โดยรวมทุกด้านอยู่ในระดับมาก 2) โมเดลการวิเคราะห์มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ (gif.latex?X^{2} /df) หรือค่า CMIN/DF = 0.950, df = 42, p=0.56, RMSEA= 0.000, GFI=0.985, AGFI=0.968, NFI=0.987, IFI=0.991, CFI=0.991, RMR= 0.002 แสดงว่ารูปแบบอิทธิพลการรับรู้การสนับสนุนจากองค์การ และการรู้สมรรถนะแห่งตน ที่มีต่อแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ และผลการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัทในกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์แห่งหนึ่ง จังหวัดชลบุรีที่ พัฒนาขึ้นมีความกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์

Article Details

How to Cite
Poonyavithitroj, N., & Thaweepaiboonwong, J. (2020). THE INFLUENCE OF PERCEIVED ORGANIZATIONAL SUPPORT AND SELF-EFFICACY ON ACHIEVEMENT MOTIVATION AND PERFORMANCE OF EMPLOYEE IN ABC AUTOMOTIVE INDUSTRY, CHON BURI PROVINCE. Journal of Graduate School of Commerce-Burapha Review, 15(1), 45–58. Retrieved from https://so02.tci-thaijo.org/index.php/GSC/article/view/229735
Section
บทความวิจัย

References

กัลยา วานิชย์บัญชา. (2546). การใช้ SPSS for Windows ในการวิเคราะห์ข้อมูล (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

คมกริช นันทะโรจพงศ์ และ วิโรจน์ เจษฎาลักษณ์. (2561). อิทธิพลของบรรยากาศองค์การและการรับรู้การสนับสนุนจากองค์การที่ส่งผลต่อผลการปฏิบัติงานผ่านความสุขในการทำงานของบุคลากรในอุตสาหกรรมการผลิต. WMS Journal of Management, 7(1).

ธานินทร์ ศิลป์จารุ. (2557). การวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย SPSS. กรุงเทพมหานคร: วี.อินเตอร์พริ้นท์.

ปัญญาพร ฐิติพงศ์. (2559). แรงจูงใจที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรในบริษัทก่อสร้าง: กรณีศึกษา บริษัท อินเตอร์ เอ็กพิร์ท คอนสตรัคชั่น จำกัด”. Veridian E-Journal, Silpakorn University ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ, 9(3), 1275-1292.

มาริสสา อินทรเกิด และวิโรจน์ เจษฎาลักษณ์. (2559). การรับรู้การสนับสนุนจากองค์การและการ รับรู้การสนับสนุนจากหัวหน้างานที่ส่งผลต่อผลการปฏิบัติงานของพนักงานสายสนับสนุนมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งหนึ่ง. วารสารธุรกิจปริทัศน์, 8(2), 129-144

ศศิวรรณ อินทรวงศ์. (2560). อิทธิพลระหว่างการรับรู้ความสามารถในตนเอง การรับรู้ลักษณะงานที่ตนปฏิบัติ และคุณภาพชีวิตที่ดีในการทำงานที่มีต่อผลการปฏิบัติงานของบุคลากรในสถาบันอุดมศึกษากลุ่มใหม่. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สาขาการจัดการทั่วไปคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยราชมงคลธัญบุรี.

สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2562). เศรษฐกิจไทยไตรมาสแรกของปี 2562 ขยายตัวร้อยละ 2.8. วันที่ค้นข้อมูล 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 เข้าถึงได้จาก. https://www.nesdb.go.th/ewt_news.php?nid=8892&filename=index

อธิพัชร์ กอบรัตนสวัสดิ์. (2561). อิทธิพลของสภาพแวดล้อมในการทำงาน ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล การรับรู้การสนับสนุนจากองค์การส่งผลต่อความตั้งใจที่จะลาออกจากงานของพนักงานในบริษัทกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์ เขตนิคมอมตะซิตี้ จังหวัดระยอง. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารและพัฒนาอุตสาหกรรม คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

Eisenberger, R., Huntington, R., Hutchison, S. and Sowa, D. (1986). Perceived organizational support. Journal of Applied Psychology, 71, 500-507.

Lestariningsih, M. (2017). Self Efficacy and Achievement Motivation on Performance with Perceived Organizational Support Moderation (A study on private university lecturer with qAq Accreditation Kopertis Region VII East Java). Advances in Intelligent System Research, 131, 81-85.

Liu, L. and Cheng, L. (2017). The Mediating Role of College Students Self-Identity in Self-efficacy and Achievement Motivation. China Journal of Health Psychology. Retrieved June 28, 2019, from http://en.cnki.com.cn/Article_en/CJFDTotal-JKXL201704018.htm

McClelland, D. C. (1961). The Achieving Society. Princeton, NJ: Van Nostrand.

Na-Nan, K., Chaiprasit, K. and Pukkeeree, P. (2017). Factor analysis-validated comprehensive employee job performance scale. International Journal of Quality & Reliability Management, 35(6), 1253-1267.

Sherer, M., Maddux, J. E., Mercandante, B., Prentice-dunn, S., Jacobs, B., & Rogers, R. W. (1982). The Self-efficacy Scale: Construction and validation. Psychological Reports, 51(2), 663–671.

Yamane, T. (1973). Statistics, an introductory analysis (3rd ed). New York: Harper and Row Publications.