Pair Teaching and Mentoring Model

Authors

  • รัตนาภรณ์ วามะสุรีย์ โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายประถม ถ.พญาไท แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
  • เสน่ห์ บุญช่วย โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายประถม ถ.พญาไท แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

Keywords:

Pair Teaching, Model of Mentoring, Student Teacher

Abstract

Pair teaching is a new model of mentoring new teachers that has been trialed at Chulalongkorn University Demonstration Elementary School. The model used two student teachers paired with two experienced mentors. It was implemented in the 2014 academic year for two different courses-science and social studies. The mentoring model was divided into three different phases. The first phase was designed to identify and understand the studentûs teaching abilities and limitations. The student teacher also learned to work in a team with their mentor. The second phase was designed to improve their existing skills and to develop the areas where they had only had theoretical practice. They also had the opportunity to reflect by themselves and with their mentor on the positives and negatives of the teaching demonstration. The third phase of the model allowed the student teachers to develop themselves independently and continue to develop their instructional skills. Our results using this model proved to develop the mentee to gain greater confidence, higher ability, higher quality lesson plans, in a much shorter time frame as compared to the original one to one mentoring model. In addition, our mentors became more confident with greater trust in their mentees. Mentors felt that they became better instructors as they developed better techniques for supervision.

การนิเทศการสอนแบบนิสิตคู่เป็นกระบวนการนิเทศที่โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายประถมได้ทดลองในปีการศึกษา 2557 ด้วยการใช้การนิเทศสำหรับนิสิตฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 2 คน ปฏิบัติหน้าที่ครูประจำชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 5 ร่วมกัน โดยแบ่งเป็นสอนวิชาสังคมศึกษา จำนวน 4 คาบต่อสัปดาห์ และสอนวิชาวิทยาศาสตร์จำนวน 4 คาบต่อสัปดาห์ร่วมกัน เป็นระยะเวลา 1 ภาคการศึกษา ทั้งนี้ นิสิตทั้งสองจะอยู่ในความดูแลของอาจารย์นิเทศก์ 2 ท่าน และได้แบ่งการนิเทศการสอนออกเป็น 3 ระยะ คือ ระยะที่ 1 เป็นการเตรียมตัวและวางแผนการสอน ระยะที่ 2 เป็นการค้นพบจุดเด่น จุดด้อยของนิสิต และระยะที่ 3 เป็นการพัฒนาตนเองตามศักยภาพและความถนัด ผลการใช้การนิเทศการสอนแบบนิสิตคู่ พบว่า นิสิตมีการวางแผนการจัดการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น เกิดการเรียนรู้การทำงานเป็นทีม สามารถพัฒนาตนเองได้ตามศักยภาพ และเกิดแรงจูงใจในการประกอบวิชาชีพครูเพิ่มขึ้น ในส่วนของอาจารย์นิเทศเองก็ได้รับการพัฒนารูปแบบและวิธีการใหม่ๆ เพิ่มขึ้นจากอาจารย์นิเทศคู่และจากนิสิตด้วย

Downloads

How to Cite

วามะสุรีย์ ร., & บุญช่วย เ. (2015). Pair Teaching and Mentoring Model. Journal of Education Studies, 43(3), 93–104. Retrieved from https://so02.tci-thaijo.org/index.php/EDUCU/article/view/40548