Classroom Observation: A Self-study of a Language Teacher Educator Supervising Pre-service Teachers
Keywords:
classroom observation, pre-service teachersû supervision, reflective practice, language teacher educatorAbstract
The purpose of this study was to explore the techniques used by a language teacher
educator working as a university supervisor to monitor and assist a group of English
pre-service teachers learning how to teach during each stage of their practice teaching.
Self-study was employed in this study to investigate the researcherûs inquiry-to make the
implicit pedagogical practice of her supervision of pre-service teachers explicit or visible.
Various data sources from her own practice were obtained and triangulated to analyze her
own practices. The findings revealed that reflective practice can be used as a frame of
reference for the university supervisor, acting as a mediator, to connect theory and practice for pre-service teachers to improve their quality of teaching.
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อแสวงหาวิธีการและขั้นตอนที่นักการครุศึกษาด้านภาษาในฐานะอาจารย์นิเทศคณะครุศาสตร์ใช้นิเทศกลุ่มนิสิตฝึกประสบการณ์วิชาชีพในการเรียนรู้การสอนภาษาอังกฤษในโรงเรียน รูปแบบการวิจัยทีใช้คือการศึกษาด้วยตนเองเพื่อตอบข้อสงสัยของผู้วิจัยที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานด้านการนิเทศการสอนที่มิได้มีการบันทึกไว้อย่างชัดเจนให้เป็นรูปธรรมหรือมองเห็นเชิงประจักษ์มากขึ้น งานวิจัยนี้มีการเก็บข้อมูลที่หลากหลายแบบสามเส้าในการวิเคราะห์การปฏิบัติงาน ผลงานวิจัยพบว่าการสืบสอบอย่างเป็นระบบด้วยการสะท้อนคิดสามารถใช้เป็นกรอบแนวทางในการให้คำปรึกษาในการนิเทศนิสิตฝึกประสบการณ์วิชาชีพโดยอาจารย์นิเทศมีบทบาทเป็นตัวกลางหรือสื่อในการเชื่อมโยงทฤษฎี และแนวปฏิบัติเพื่อให้นิสิตฝึกประสบการณ์วิชาชีพเรียนรู้การสอนได้ดีขึ้น