การพัฒนากลยุทธ์การบริหารทรัพยากรทางการศึกษาของ โรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็กในเขตเมืองและชนบท Development of Strategies for Educational Resource Management of Small Schools in Urban and Rural Areas
Abstract
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ ๑) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์การบริหาร ทรัพยากรทางการศึกษาของโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็กในเขตเมืองและชนบท ๒) เพื่อพัฒนากลยุทธ์การ บริหารทรัพยากรทางการศึกษาของโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็กในเขตเมืองและชนบท โดยใช้ระเบียบ วิจัยแบบผสมผสาน เก็บข้อมูลเชิงปริมาณ กับกลุ่มตัวอย่างโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็กในเขตเมืองและ ชนบท จำนวน ๔๐๐ โรงเรียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน สถิติทดสอบที (t-test) และประเมินความต้องการจำเป็นด้วยค่าดัชนี PNI modif ied เก็บข้อมูลเชิง คุณภาพกับกลุ่มตัวอย่างโรงเรยี นประถมศกึ ษาขนาดเลก็ ในเขตเมอื งและชนบท ทมี่ กี ารจดั การศกึ ษาอยา่ ง มีคุณภาพ จำนวน ๑๐ โรงเรียน จากการเลือกแบบเจาะจง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์เนื้อหา จัด ทำกลยุทธ์ด้วยเทคนิคการวิเคราะห์ SWOT และตรวจสอบกลยุทธ์โดยการจัดสนทนากลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิ
ผลการวิจัยพบว่า ๑) สภาพปัจจุบันการบริหารทรัพยากรทางการศึกษาของโรงเรียนประถมศึกษา ขนาดเล็กในเขตเมืองและชนบทโดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก ๒) สภาพที่พึงประสงค์การบริหาร ทรัพยากรทางการศึกษาของโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็กในเขตเมืองและชนบทโดยรวมและรายด้าน อยู่ในระดับมากที่สุด ๓) กลยุทธ์การบริหารทรัพยากรทางการศึกษาของโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็ก ในเขตเมืองและชนบทประกอบด้วย ๓ กลยุทธ์หลัก ๑๔ กลยุทธ์รอง และ ๖๖ กลยุทธ์ระดับแนวทาง ปฏิบัติ แยกตามกระบวนการบริหาร ดังนี้ ๑) กลยุทธ์เสริมสร้างขีดความสามารถในการวางแผนทรัพยากร ทางการศึกษา ๒) กลยุทธ์เสริมสร้างขีดความสามารถในการนำแผนทรัพยากรทางการศึกษาสู่การ ปฏิบัติ และ ๓) กลยุทธ์พัฒนาระบบการประเมินผลการใช้ทรัพยากรทางการศึกษา
The purposes of this research were 1) to investigate the existing conditions and needs of educational resource management of small schools in urban and rural areas; 2) to develop strategies for educational resource management of small schools in urban and rural areas. The mixed methodology was employed for research design. The quantitative data were collected from 400 small schools in urban and rural areas. Frequency, percentage, mean standard deviation, t-test and modif ied PNI of needs assessment and its ranking were employed for data analysis. Part of the quality research was collected from school administrators of 10 quality schools which were selected by the means of purposive sampling. Content analysis and SWOT analysis technique were used for strategy development and the expert focus group discussion was conducted for checking and assessing the suitability of those strategies respectively.
The research f indings were summarized as follows: 1) The existing conditions of educational resource management of small schools in urban and rural areas as a whole were high. 2) The needs of educational resource management of small schools in urban and rural areas as a whole were very high. 3) The strategies of educational resource management of small schools in urban and rural areas consisted of 3 main strategies, 14 sub strategies and 66 practical strategies, classif ied by administrative process. They were 1) strategy for adding the competencies in planning of educational resources 2) strategy for adding the competencies of its implementation of educational resources, 3) strategy for developing the system of educational resource utilization